-
Notifications
You must be signed in to change notification settings - Fork 7.7k
New issue
Have a question about this project? Sign up for a free GitHub account to open an issue and contact its maintainers and the community.
By clicking “Sign up for GitHub”, you agree to our terms of service and privacy statement. We’ll occasionally send you account related emails.
Already on GitHub? Sign in to your account
feat: Add Thai Parliament's Public hearing (according to Thai constitution section 77) #14260
Merged
Conversation
This file contains bidirectional Unicode text that may be interpreted or compiled differently than what appears below. To review, open the file in an editor that reveals hidden Unicode characters.
Learn more about bidirectional Unicode characters
Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com>
Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com>
Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com>
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Tue, 16 Jan 2024 09:26:35 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบัน ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้ซื้อที่ดินจัดสรร ตลอดจนยังขาดหน่วยงานและมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรหรือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จากการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่ บำรุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน และการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรหรือการอุทิศทรัพย์สินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งประชาชนโดยทั่วไปใช้สอยร่วมกัน กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะในที่ดินจัดสรร รวมถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด เพื่อคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรมิให้ได้รับผลกระทบจากการที่ผู้จัดสรรที่ดินละเลยหรือทอดทิ้ง ไม่บำรุงรักษาสาธารณูปโภค จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ </strong>ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 03 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</link>
<author><![CDATA[นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่ปัจจุบันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองว่ามีสิทธิทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนนั้น มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งพบว่าการลงโทษนั้น หลายกรณีกลับกลายเป็นการกระทำในลักษณะทารุณกรรมหรือทำร้ายอันส่งผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจของบุตร เป็นการเฆี่ยนตีบุตร หรือทำโทษด้วยวิธีการอื่นอันเป็นการด้อยค่า ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบุตร และไม่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดหรือพฤติกรรมของบุตรที่จำเป็นต้องว่ากล่าวสั่งสอน ประกอบกับการปรับแก้ไขสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองในการทำโทษบุตรนี้ เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคี ข้อเสนอแนะทั่วไป ฉบับที่ 8 (ค.ศ. 2006) (General Comment No. 8 (2006) The Right of the Child of Protection from Corporal Punishment and other Cruel or Degrading Forms of Punishment) ที่ออกตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และประเทศไทยได้ตอบรับและให้คำมั่นโดยสมัครใจที่จะปฏิบัติตามภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563) อีกด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 18 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</link>
<author><![CDATA[นายณัฐวุฒิ บัวประทุม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติรับรองคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเมื่อมีการกระทำความผิดอาญาเกิดขึ้นทั้งการควบคุมหรือขัง เพื่อดำเนินการสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน การควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยว่ากระทำความผิดและอยู่ระหว่างการสอบสวนหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาคดีของศาล การส่งบุคคลดังกล่าวเข้าสู่เรือนจำ จึงไม่แตกต่างกับการที่ต้องได้รับโทษ ทำให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาขาดอิสรภาพ อันเป็นการกระทบต่อสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่บุคคลควรได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ดังนั้นการกำหนดให้รัฐแจ้งสิทธิและจัดหาทนายความให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในทันทีและการกำหนดกรอบในการใช้ดุลพินิจกรณีการใช้สถานที่อื่นในการขังผู้ต้องหาหรือจำเลยในระหว่างการพิจารณาคดีหรือการจำคุกผู้ซึ่งต้องจำคุก รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ใช้การไต่สวนโดยการถ่ายทอดภาพและเสียงในลักษณะการประชุมทางจอภาพได้ในกรณีที่เหมาะสม ย่อมเป็นการพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อให้ประชาชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้รับความเป็นธรรมและได้รับสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญรับรองและคุ้มครองอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Tue, 05 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</link>
<author><![CDATA[นายเอกราช อุดมอำนวย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประปาแห่งชาติ พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ในปัจจุบันกิจการประปาส่วนใหญ่ของประเทศนั้นอยู่ในความดูแลของการประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค และการประปาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งยังขาดกฎหมายที่ให้อำนาจหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการกำหนดนโยบายและแผนแม่บทการบริหารและพัฒนากิจการประปาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้ง ขาดการกำกับดูแล มาตรฐานและคุณภาพในการให้บริการน้ำประปาแก่ประชาชนให้เหมาะสมแก่การอุปโภคบริโภค จึงสมควรให้มีกฎหมายเพื่อกำหนดนโยบาย มาตรฐาน การกำกับดูแล และแผนการบริหารและพัฒนาเกี่ยวกับการประปาของประเทศ เพื่อสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประชาชนได้รับบริการการประปาได้อย่างสะดวกประหยัด ปลอดภัย และทั่วถึง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 30 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</link>
<author><![CDATA[นางสาวศิริกัญญา ตันสกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (1) เพิ่มบทนิยามคำว่า "ผู้แทนเกษตรกรโคนม" (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (2) แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 4)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (3) แก้ไขเพิ่มเติมจำนวนการประชุมในแต่ละปี และรายละเอียดการประชุมคณะกรรมการโคนมและผลติภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 9 วรรคหนึ่ง)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (4) แก้ไขเพิ่มเติมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมให้มีความครอบคลุมยิ่งขึ้น รวมถึงกำหนดองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่แต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้ประกอบด้วยผู้แทนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 10) ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.1 กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการคำนวณต้นทุนในการผลิตน้ำนมโคและกำหนดราคาซื้อน้ำนมโคและผลิตภัณฑ์นมตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่น้ำนมดิบ ศูนย์รวมนม โรงงานแปรรูป ซึ่งรวมถึงกระบวนการระหว่างทาง รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ด้านคุณภาพ วันรับซื้อและวันหยุดรับซื้อน้ำนมโคของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.2 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานตามพระราชบัญญัตินี้ และอาจเชิญส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชนหรือบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง คำอธิบาย ความเห็นหรือคำแนะนำ รวมทั้งให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง คณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้ง ต้องประกอบด้วยผู้แทนเกษตรกรโคนม ผู้แทนองค์กรเกษตรกรโคนม ผู้แทนผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม และผู้แทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมนมในจำนวนที่เท่ากัน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.3 จัดทำรายงานการประชุม รายงานผลการดำเนินงานประจำปีของคณะกรรมการและข้อมูลการวิเคราะห์ต้นทุนและโครงสร้างราคานมและผลิตภัณฑ์นม โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการรับรอง</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.4 เผยแพร่รายงานการประชุมและรายงานผลการดำเนินกางานของคณะอนุกรรมการ โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการเห็นชอบ</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">โดยที่พระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ที่ใช้บังคับอยู่ ไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรให้มีการเพิ่มบทนิยาม แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม องค์ประกอบของคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ และกำหนดให้มีการเปิดเผยและเผยแพร่รายงานการประชุมและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมและคณะอนุกรรมการ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 23 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</link>
<author><![CDATA[นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗ เนื่องจากหลักเกณฑ์ในการดูแลสัตว์ตามพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 ขาดความชัดเจนของถ้อยคำ เกิดปัญหาในการตีความจนทำให้ผู้กระทำการทารุณกรรมสัตว์เข้าเหตุยกเว้นว่ามีเหตุอันสมควรและไม่มีความผิด ขาดกลไกการทำงาน เทคโนโลยีและการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับเหตุยกเว้นหรือการกระทำใดที่ไม่เป็นการทารุณกรรมสัตว์ ให้ชัดเจน กำหนดช่องทางให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือสัตว์โดยขอรับสัตว์ไปเลี้ยง กำหนดให้มีเงินอุดหนุนสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อช่วยเหลือให้การจัดสวัสดิภาพสัตว์สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างเหมาะสม และกำหนดให้มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสามารถติดตามสัตว์ได้เพื่อคุ้มครองมิให้สัตว์ถูกทารุณกรรมและบริหารจัดการการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>สาระสำคัญ</strong></p>
<p>1. แก้ไขเพิ่มเติมบทนิยาม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3) ดังนี้ </p>
<p> 1.1 คำว่า “สัตว์” เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูจากมนุษย์และไม่ต้องมีบัญชีหรือขึ้นทะเบียนไว้ (ร่างมาตรา 3)</p>
<p> 1.2 เพิ่มบทนิยามคำว่า “ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่” เพื่อกำหนดให้มีผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 4) </p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 5 และมาตรา 8) ดังนี้</p>
<p> 2.1 แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง โดยตัดกรรมการที่มาจากตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา<br>
ขั้นพื้นฐาน ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และผู้อำนวยการองค์การสวนสัตว์ออก และเพิ่มจำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากจำนวนเจ็ดคนเป็นจำนวนสิบสองคน (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 2.2 เพิ่มอำนาจหน้าที่ให้แก่คณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ในการกำหนดขอบเขตหรือปริมาณงานอันสมควรแก่สัตว์หรือกำหนดลักษณะงานอันไม่สมควรเพราะ เหตุที่สัตว์นั้นเจ็บป่วย ชรา หรืออ่อนอายุ (ร่างมาตรา 6) </p>
<p> </p>
<p>3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 และมาตรา 13) ดังนี้</p>
<p> 3.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไร ให้จดทะเบียนเป็นองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ต่อนายทะเบียน (ร่างมาตรา 7)</p>
<p> 3.2 กำหนดให้นายทะเบียนมีอํานาจเพิกถอนการจดทะเบียนขององค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ ในกรณีที่ปรากฏว่าองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ได้ดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (ร่างมาตรา 8)</p>
<p>4. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยสถานสงเคราะห์สัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 14 มาตรา 15 และมาตรา 16) ดังนี้</p>
<p> 4.1 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดำเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันให้จดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต่อนายทะเบียน ส่วนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต้องมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับหรือเป็นมาตรฐานที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ให้มีมาตรฐานสากล (ร่างมาตรา 9)</p>
<p> 4.2 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วอาจได้รับการสนับสนุน จากกรมปศุสัตว์หรือหน่วยงานอื่นของรัฐในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดทำระบบ หรือหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ให้ประชาชนขอสัตว์จากสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อนำไปเป็นสัตว์บ้าน หรือสัตว์เลี้ยงเพื่อให้เป็นเพื่อนหรือเพื่อการอื่นใดตามที่อธิบดีประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 10)</p>
<p> 4.3 กำหนดให้นายทะเบียนมีอำนาจเพิกถอนการจดทะเบียนสถานสงเคราะห์สัตว์ ในกรณีที่สถานสงเคราะห์สัตว์กระทำการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์หรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมรวมทั้งกำหนดให้มีระเบียบเกี่ยวกับการให้เงินอุดหนุนการจัดสวัสดิภาพสัตว์แก่สถานสงเคราะห์สัตว์ตามที่คณะกรรมการกำหนด เพื่อประโยชน์ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม และช่วยเหลือสถานสงเคราะห์สัตว์มิให้ถูกเพิกถอนการจดทะเบียน (ร่างมาตรา 11)</p>
<p>5. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการอุทธรณ์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 17 และมาตรา 18<br>
วรรคหนึ่ง) ดังนี้</p>
<p> 5.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดําเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งไม่รับจดทะเบียนจากนายทะเบียน (ร่างมาตรา 12)</p>
<p> 5.2 กำหนดให้องค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์หรือสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งให้ระงับการดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม (ร่างมาตรา 13)</p>
<p>6. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการป้องกันการทารุณกรรมสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p> 6.1 แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้กระทําการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์เพื่อให้เกิดความชัดเจน (ร่างมาตรา 14)</p>
<p> 6.2 กำหนดให้การตัด หู หาง ขน เขา หรืองาเพื่อสุขอนามัยของสัตว์โดยไม่เป็นอันตราย ต่อสัตว์หรือการดำรงชีวิตของสัตว์ ไม่ถือว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ (ร่างมาตรา 15)</p>
<p>7. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 22 และมาตรา 23)</p>
<p> 7.1 กำหนดให้เจ้าของสัตว์ต้องดําเนินการจดทะเบียนสัตว์เลี้ยงและจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ของตนให้เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดซึ่งอย่างน้อยต้องมีขั้นตอนการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สามารถติดตามสัตว์ได้ (ร่างมาตรา 16)</p>
<p> 7.2 กำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้เจ้าของสัตว์ปล่อย ละทิ้ง หรือกระทําการใด ๆ ให้สัตว์พ้นจากการดูแลของตนหรือให้เป็นภาระของผู้อื่นโดยไม่มีเหตุอันสมควร (ร่างมาตรา 17)</p>
<p>8. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 25 มาตรา 26 และมาตรา 30) </p>
<p> 8.1 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจหน้าที่ในการยึดหรืออายัดสัตว์หรือซากของสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าถูกฆ่าหรือถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ไม่เหมาะสม รวมทั้งเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดหรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามตามพระราชบัญญัตินี้เพื่อเป็นพยานหลักฐานในการดำเนินคดี (ร่างมาตรา 18)</p>
<p> 8.2 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับคำร้องหรือเห็นว่าการให้สัตว์อยู่ในความครอบครองของเจ้าของอาจจะถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่ไม่เหมาะสมอีก พนักงานเจ้าหน้าที่อาจเสนอให้ศาลพิจารณาสั่งห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้กระทำความผิดนั้นครอบครองสัตว์ดังกล่าวเป็น<br>
การชั่วคราว และมอบให้หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่เห็นสมควรเป็นผู้ครอบครองหรือดูแลสัตว์นั้นจนกว่าจะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่ง (ร่างมาตรา 19)</p>
<p> 8.3 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดําเนินการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ตามความเหมาะสมในกรณีที่พบสัตว์ถูกปล่อย ละทิ้ง หรือไม่มีเจ้าของหรือเจ้าของไม่สามารถดูแลสัตว์ได้อีกต่อไป(ร่างมาตรา 20)</p>
<p> 8.4 กำหนดให้ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 21)</p>
<p>9. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยบทกำหนดโทษ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 32)</p>
<p> 9. เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับในกรณีที่ศาลเห็นว่าผู้กระทำความผิดไม่มีความสามารถ ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมศาลอาจสั่งห้ามผู้กระทำความผิดครอบครองสัตว์เป็นการชั่วคราวหรือโดยถาวรก็ได้ (ร่างมาตรา 22)</p>
<p>10. การกำหนดให้ผู้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน<br>
การทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 เป็นผู้ได้รับการจดทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัตินี้ต่อไปจนกว่าจะสิ้นอายุการขึ้นทะเบียน</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 22 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</link>
<author><![CDATA[นายร่มธรรม ขำนุรักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจาย...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่คลื่นความถี่ของวิทยุภาคประชาชน ที่มีการส่งกระจายเสียงประเภทใบอนุญาตประกอบกิจการบริการสาธารณะ ใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน ใบอนุญาตประกอบกิจการทางธุรกิจระดับท้องถิ่นที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ เป็นการประกอบกิจการขนาดเล็กของชุมชน ไม่สมควรที่จะนำคลื่นความถี่ออกไปประมูลเพราะจะทำให้ผู้ประกอบกิจการรายใหญ่เข้าครอบงำวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชนได้ อีกทั้งต้องการส่งเสริมให้สถานีวิทยุมีรายได้เพียงพอในการประกอบกิจการ นอกจากนี้ บทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้มีอัตราโทษที่สูงเกินสมควร ไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชน และวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ เนื่องจากเป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กรัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ มีรายได้น้อย จึงสมควรแก้ไขให้เกิดความเหมาะสมเป็นธรรม และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในการมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารระดับท้องถิ่น และใช้บริการวิทยุภาคประชาชนในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น และส่งเสริมวิทยุภาคประชาชน วิทยุกิจการบริการชุมชนให้สามารถประกอบกิจการอยู่ได้ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 20 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานี และบทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้อัตราโทษที่สูงไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ ที่เป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กมีรายได้น้อย รัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ สมควรกำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน สามารถมีรายได้จากการบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่นเท่าที่จำเป็นเพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้นการแสวงหากำไร และกำหนดโทษทางปกครองที่เหมาะสมสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ โดยร่างพระราชบัญญัติมีสาระสำคัญ ดังนี้</p>
<p> 1. กำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชนสามารถมีรายได้จาก<br>
การบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่น เพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้น<br>
การแสวงหากำไร (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 21)</p>
<p> 2. กำหนดการลงโทษสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 61)<br>
<br>
</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 19 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. .... ฉบับนี้ เสนอแก้ไขเนื่องจากพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 มีบทบัญญัติบางมาตราที่อาจจะขัดต่อหลักการของอนุสัญญาประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก หรือหลักสิทธิมนุษยชนและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินและสิทธิในการประกอบอาชีพของประชาชน การเลือกปฏิบัติ ขาดความเสมอภาค และบังคับใช้กฎหมายโดยไม่เท่าเทียมกัน รวมทั้งมีบทกำหนดโทษที่ไม่เป็นธรรม ซ้ำช้อน และไม่ได้สัดส่วนกับการลงโทษในความผิดทั่วไป จึงแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเนื่องมาจากการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว รวมทั้งบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนและชาวประมงผู้ประกอบอาชีพโดยสุจริตให้ได้รับความเป็นธรรม ตลอดจนส่งเสริมการทำประมงให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศและเกิดประโยชน์สูงสุด การจัดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบและพิจารณาลงโทษและคณะกรรมการมาตรการทางปกครองในการพิจารณาออกคำสั่งตามระดับความรุนแรงของการกระทำความผิด สภาพการกระทำความผิดซ้ำ ตลอดจนกำหนดโทษทางปกครองและโทษทางอาญาที่เหมาะสม เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพและป้องกันการกระทำผิด</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 08 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</link>
<author><![CDATA[นายคอซีย์ มามุ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
github-actions
bot
added
the
Auto: Route Test Complete
Auto route test has finished on given PR
label
Jan 16, 2024
…sses null check. Consider using 'isNaN()' instead if invalid number checking was intended.
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Tue, 16 Jan 2024 09:31:19 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบัน ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้ซื้อที่ดินจัดสรร ตลอดจนยังขาดหน่วยงานและมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรหรือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จากการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่ บำรุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน และการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรหรือการอุทิศทรัพย์สินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งประชาชนโดยทั่วไปใช้สอยร่วมกัน กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะในที่ดินจัดสรร รวมถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด เพื่อคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรมิให้ได้รับผลกระทบจากการที่ผู้จัดสรรที่ดินละเลยหรือทอดทิ้ง ไม่บำรุงรักษาสาธารณูปโภค จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ </strong>ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 03 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</link>
<author><![CDATA[นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่ปัจจุบันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองว่ามีสิทธิทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนนั้น มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งพบว่าการลงโทษนั้น หลายกรณีกลับกลายเป็นการกระทำในลักษณะทารุณกรรมหรือทำร้ายอันส่งผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจของบุตร เป็นการเฆี่ยนตีบุตร หรือทำโทษด้วยวิธีการอื่นอันเป็นการด้อยค่า ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบุตร และไม่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดหรือพฤติกรรมของบุตรที่จำเป็นต้องว่ากล่าวสั่งสอน ประกอบกับการปรับแก้ไขสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองในการทำโทษบุตรนี้ เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคี ข้อเสนอแนะทั่วไป ฉบับที่ 8 (ค.ศ. 2006) (General Comment No. 8 (2006) The Right of the Child of Protection from Corporal Punishment and other Cruel or Degrading Forms of Punishment) ที่ออกตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และประเทศไทยได้ตอบรับและให้คำมั่นโดยสมัครใจที่จะปฏิบัติตามภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563) อีกด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 18 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</link>
<author><![CDATA[นายณัฐวุฒิ บัวประทุม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติรับรองคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเมื่อมีการกระทำความผิดอาญาเกิดขึ้นทั้งการควบคุมหรือขัง เพื่อดำเนินการสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน การควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยว่ากระทำความผิดและอยู่ระหว่างการสอบสวนหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาคดีของศาล การส่งบุคคลดังกล่าวเข้าสู่เรือนจำ จึงไม่แตกต่างกับการที่ต้องได้รับโทษ ทำให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาขาดอิสรภาพ อันเป็นการกระทบต่อสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่บุคคลควรได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ดังนั้นการกำหนดให้รัฐแจ้งสิทธิและจัดหาทนายความให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในทันทีและการกำหนดกรอบในการใช้ดุลพินิจกรณีการใช้สถานที่อื่นในการขังผู้ต้องหาหรือจำเลยในระหว่างการพิจารณาคดีหรือการจำคุกผู้ซึ่งต้องจำคุก รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ใช้การไต่สวนโดยการถ่ายทอดภาพและเสียงในลักษณะการประชุมทางจอภาพได้ในกรณีที่เหมาะสม ย่อมเป็นการพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อให้ประชาชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้รับความเป็นธรรมและได้รับสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญรับรองและคุ้มครองอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Tue, 05 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</link>
<author><![CDATA[นายเอกราช อุดมอำนวย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประปาแห่งชาติ พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ในปัจจุบันกิจการประปาส่วนใหญ่ของประเทศนั้นอยู่ในความดูแลของการประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค และการประปาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งยังขาดกฎหมายที่ให้อำนาจหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการกำหนดนโยบายและแผนแม่บทการบริหารและพัฒนากิจการประปาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้ง ขาดการกำกับดูแล มาตรฐานและคุณภาพในการให้บริการน้ำประปาแก่ประชาชนให้เหมาะสมแก่การอุปโภคบริโภค จึงสมควรให้มีกฎหมายเพื่อกำหนดนโยบาย มาตรฐาน การกำกับดูแล และแผนการบริหารและพัฒนาเกี่ยวกับการประปาของประเทศ เพื่อสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประชาชนได้รับบริการการประปาได้อย่างสะดวกประหยัด ปลอดภัย และทั่วถึง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 30 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</link>
<author><![CDATA[นางสาวศิริกัญญา ตันสกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (1) เพิ่มบทนิยามคำว่า "ผู้แทนเกษตรกรโคนม" (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (2) แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 4)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (3) แก้ไขเพิ่มเติมจำนวนการประชุมในแต่ละปี และรายละเอียดการประชุมคณะกรรมการโคนมและผลติภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 9 วรรคหนึ่ง)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (4) แก้ไขเพิ่มเติมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมให้มีความครอบคลุมยิ่งขึ้น รวมถึงกำหนดองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่แต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้ประกอบด้วยผู้แทนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 10) ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.1 กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการคำนวณต้นทุนในการผลิตน้ำนมโคและกำหนดราคาซื้อน้ำนมโคและผลิตภัณฑ์นมตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่น้ำนมดิบ ศูนย์รวมนม โรงงานแปรรูป ซึ่งรวมถึงกระบวนการระหว่างทาง รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ด้านคุณภาพ วันรับซื้อและวันหยุดรับซื้อน้ำนมโคของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.2 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานตามพระราชบัญญัตินี้ และอาจเชิญส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชนหรือบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง คำอธิบาย ความเห็นหรือคำแนะนำ รวมทั้งให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง คณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้ง ต้องประกอบด้วยผู้แทนเกษตรกรโคนม ผู้แทนองค์กรเกษตรกรโคนม ผู้แทนผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม และผู้แทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมนมในจำนวนที่เท่ากัน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.3 จัดทำรายงานการประชุม รายงานผลการดำเนินงานประจำปีของคณะกรรมการและข้อมูลการวิเคราะห์ต้นทุนและโครงสร้างราคานมและผลิตภัณฑ์นม โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการรับรอง</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.4 เผยแพร่รายงานการประชุมและรายงานผลการดำเนินกางานของคณะอนุกรรมการ โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการเห็นชอบ</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">โดยที่พระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ที่ใช้บังคับอยู่ ไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรให้มีการเพิ่มบทนิยาม แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม องค์ประกอบของคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ และกำหนดให้มีการเปิดเผยและเผยแพร่รายงานการประชุมและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมและคณะอนุกรรมการ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 23 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</link>
<author><![CDATA[นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗ เนื่องจากหลักเกณฑ์ในการดูแลสัตว์ตามพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 ขาดความชัดเจนของถ้อยคำ เกิดปัญหาในการตีความจนทำให้ผู้กระทำการทารุณกรรมสัตว์เข้าเหตุยกเว้นว่ามีเหตุอันสมควรและไม่มีความผิด ขาดกลไกการทำงาน เทคโนโลยีและการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับเหตุยกเว้นหรือการกระทำใดที่ไม่เป็นการทารุณกรรมสัตว์ ให้ชัดเจน กำหนดช่องทางให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือสัตว์โดยขอรับสัตว์ไปเลี้ยง กำหนดให้มีเงินอุดหนุนสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อช่วยเหลือให้การจัดสวัสดิภาพสัตว์สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างเหมาะสม และกำหนดให้มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสามารถติดตามสัตว์ได้เพื่อคุ้มครองมิให้สัตว์ถูกทารุณกรรมและบริหารจัดการการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>สาระสำคัญ</strong></p>
<p>1. แก้ไขเพิ่มเติมบทนิยาม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3) ดังนี้ </p>
<p> 1.1 คำว่า “สัตว์” เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูจากมนุษย์และไม่ต้องมีบัญชีหรือขึ้นทะเบียนไว้ (ร่างมาตรา 3)</p>
<p> 1.2 เพิ่มบทนิยามคำว่า “ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่” เพื่อกำหนดให้มีผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 4) </p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 5 และมาตรา 8) ดังนี้</p>
<p> 2.1 แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง โดยตัดกรรมการที่มาจากตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา<br>
ขั้นพื้นฐาน ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และผู้อำนวยการองค์การสวนสัตว์ออก และเพิ่มจำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากจำนวนเจ็ดคนเป็นจำนวนสิบสองคน (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 2.2 เพิ่มอำนาจหน้าที่ให้แก่คณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ในการกำหนดขอบเขตหรือปริมาณงานอันสมควรแก่สัตว์หรือกำหนดลักษณะงานอันไม่สมควรเพราะ เหตุที่สัตว์นั้นเจ็บป่วย ชรา หรืออ่อนอายุ (ร่างมาตรา 6) </p>
<p> </p>
<p>3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 และมาตรา 13) ดังนี้</p>
<p> 3.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไร ให้จดทะเบียนเป็นองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ต่อนายทะเบียน (ร่างมาตรา 7)</p>
<p> 3.2 กำหนดให้นายทะเบียนมีอํานาจเพิกถอนการจดทะเบียนขององค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ ในกรณีที่ปรากฏว่าองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ได้ดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (ร่างมาตรา 8)</p>
<p>4. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยสถานสงเคราะห์สัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 14 มาตรา 15 และมาตรา 16) ดังนี้</p>
<p> 4.1 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดำเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันให้จดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต่อนายทะเบียน ส่วนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต้องมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับหรือเป็นมาตรฐานที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ให้มีมาตรฐานสากล (ร่างมาตรา 9)</p>
<p> 4.2 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วอาจได้รับการสนับสนุน จากกรมปศุสัตว์หรือหน่วยงานอื่นของรัฐในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดทำระบบ หรือหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ให้ประชาชนขอสัตว์จากสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อนำไปเป็นสัตว์บ้าน หรือสัตว์เลี้ยงเพื่อให้เป็นเพื่อนหรือเพื่อการอื่นใดตามที่อธิบดีประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 10)</p>
<p> 4.3 กำหนดให้นายทะเบียนมีอำนาจเพิกถอนการจดทะเบียนสถานสงเคราะห์สัตว์ ในกรณีที่สถานสงเคราะห์สัตว์กระทำการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์หรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมรวมทั้งกำหนดให้มีระเบียบเกี่ยวกับการให้เงินอุดหนุนการจัดสวัสดิภาพสัตว์แก่สถานสงเคราะห์สัตว์ตามที่คณะกรรมการกำหนด เพื่อประโยชน์ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม และช่วยเหลือสถานสงเคราะห์สัตว์มิให้ถูกเพิกถอนการจดทะเบียน (ร่างมาตรา 11)</p>
<p>5. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการอุทธรณ์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 17 และมาตรา 18<br>
วรรคหนึ่ง) ดังนี้</p>
<p> 5.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดําเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งไม่รับจดทะเบียนจากนายทะเบียน (ร่างมาตรา 12)</p>
<p> 5.2 กำหนดให้องค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์หรือสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งให้ระงับการดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม (ร่างมาตรา 13)</p>
<p>6. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการป้องกันการทารุณกรรมสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p> 6.1 แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้กระทําการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์เพื่อให้เกิดความชัดเจน (ร่างมาตรา 14)</p>
<p> 6.2 กำหนดให้การตัด หู หาง ขน เขา หรืองาเพื่อสุขอนามัยของสัตว์โดยไม่เป็นอันตราย ต่อสัตว์หรือการดำรงชีวิตของสัตว์ ไม่ถือว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ (ร่างมาตรา 15)</p>
<p>7. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 22 และมาตรา 23)</p>
<p> 7.1 กำหนดให้เจ้าของสัตว์ต้องดําเนินการจดทะเบียนสัตว์เลี้ยงและจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ของตนให้เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดซึ่งอย่างน้อยต้องมีขั้นตอนการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สามารถติดตามสัตว์ได้ (ร่างมาตรา 16)</p>
<p> 7.2 กำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้เจ้าของสัตว์ปล่อย ละทิ้ง หรือกระทําการใด ๆ ให้สัตว์พ้นจากการดูแลของตนหรือให้เป็นภาระของผู้อื่นโดยไม่มีเหตุอันสมควร (ร่างมาตรา 17)</p>
<p>8. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 25 มาตรา 26 และมาตรา 30) </p>
<p> 8.1 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจหน้าที่ในการยึดหรืออายัดสัตว์หรือซากของสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าถูกฆ่าหรือถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ไม่เหมาะสม รวมทั้งเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดหรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามตามพระราชบัญญัตินี้เพื่อเป็นพยานหลักฐานในการดำเนินคดี (ร่างมาตรา 18)</p>
<p> 8.2 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับคำร้องหรือเห็นว่าการให้สัตว์อยู่ในความครอบครองของเจ้าของอาจจะถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่ไม่เหมาะสมอีก พนักงานเจ้าหน้าที่อาจเสนอให้ศาลพิจารณาสั่งห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้กระทำความผิดนั้นครอบครองสัตว์ดังกล่าวเป็น<br>
การชั่วคราว และมอบให้หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่เห็นสมควรเป็นผู้ครอบครองหรือดูแลสัตว์นั้นจนกว่าจะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่ง (ร่างมาตรา 19)</p>
<p> 8.3 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดําเนินการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ตามความเหมาะสมในกรณีที่พบสัตว์ถูกปล่อย ละทิ้ง หรือไม่มีเจ้าของหรือเจ้าของไม่สามารถดูแลสัตว์ได้อีกต่อไป(ร่างมาตรา 20)</p>
<p> 8.4 กำหนดให้ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 21)</p>
<p>9. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยบทกำหนดโทษ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 32)</p>
<p> 9. เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับในกรณีที่ศาลเห็นว่าผู้กระทำความผิดไม่มีความสามารถ ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมศาลอาจสั่งห้ามผู้กระทำความผิดครอบครองสัตว์เป็นการชั่วคราวหรือโดยถาวรก็ได้ (ร่างมาตรา 22)</p>
<p>10. การกำหนดให้ผู้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน<br>
การทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 เป็นผู้ได้รับการจดทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัตินี้ต่อไปจนกว่าจะสิ้นอายุการขึ้นทะเบียน</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 22 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</link>
<author><![CDATA[นายร่มธรรม ขำนุรักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจาย...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่คลื่นความถี่ของวิทยุภาคประชาชน ที่มีการส่งกระจายเสียงประเภทใบอนุญาตประกอบกิจการบริการสาธารณะ ใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน ใบอนุญาตประกอบกิจการทางธุรกิจระดับท้องถิ่นที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ เป็นการประกอบกิจการขนาดเล็กของชุมชน ไม่สมควรที่จะนำคลื่นความถี่ออกไปประมูลเพราะจะทำให้ผู้ประกอบกิจการรายใหญ่เข้าครอบงำวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชนได้ อีกทั้งต้องการส่งเสริมให้สถานีวิทยุมีรายได้เพียงพอในการประกอบกิจการ นอกจากนี้ บทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้มีอัตราโทษที่สูงเกินสมควร ไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชน และวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ เนื่องจากเป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กรัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ มีรายได้น้อย จึงสมควรแก้ไขให้เกิดความเหมาะสมเป็นธรรม และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในการมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารระดับท้องถิ่น และใช้บริการวิทยุภาคประชาชนในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น และส่งเสริมวิทยุภาคประชาชน วิทยุกิจการบริการชุมชนให้สามารถประกอบกิจการอยู่ได้ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 20 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานี และบทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้อัตราโทษที่สูงไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ ที่เป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กมีรายได้น้อย รัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ สมควรกำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน สามารถมีรายได้จากการบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่นเท่าที่จำเป็นเพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้นการแสวงหากำไร และกำหนดโทษทางปกครองที่เหมาะสมสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ โดยร่างพระราชบัญญัติมีสาระสำคัญ ดังนี้</p>
<p> 1. กำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชนสามารถมีรายได้จาก<br>
การบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่น เพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้น<br>
การแสวงหากำไร (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 21)</p>
<p> 2. กำหนดการลงโทษสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 61)<br>
<br>
</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 19 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. .... ฉบับนี้ เสนอแก้ไขเนื่องจากพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 มีบทบัญญัติบางมาตราที่อาจจะขัดต่อหลักการของอนุสัญญาประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก หรือหลักสิทธิมนุษยชนและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินและสิทธิในการประกอบอาชีพของประชาชน การเลือกปฏิบัติ ขาดความเสมอภาค และบังคับใช้กฎหมายโดยไม่เท่าเทียมกัน รวมทั้งมีบทกำหนดโทษที่ไม่เป็นธรรม ซ้ำช้อน และไม่ได้สัดส่วนกับการลงโทษในความผิดทั่วไป จึงแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเนื่องมาจากการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว รวมทั้งบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนและชาวประมงผู้ประกอบอาชีพโดยสุจริตให้ได้รับความเป็นธรรม ตลอดจนส่งเสริมการทำประมงให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศและเกิดประโยชน์สูงสุด การจัดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบและพิจารณาลงโทษและคณะกรรมการมาตรการทางปกครองในการพิจารณาออกคำสั่งตามระดับความรุนแรงของการกระทำความผิด สภาพการกระทำความผิดซ้ำ ตลอดจนกำหนดโทษทางปกครองและโทษทางอาญาที่เหมาะสม เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพและป้องกันการกระทำผิด</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 08 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</link>
<author><![CDATA[นายคอซีย์ มามุ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Tue, 16 Jan 2024 09:40:41 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบัน ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้ซื้อที่ดินจัดสรร ตลอดจนยังขาดหน่วยงานและมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรหรือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จากการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่ บำรุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน และการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรหรือการอุทิศทรัพย์สินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งประชาชนโดยทั่วไปใช้สอยร่วมกัน กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะในที่ดินจัดสรร รวมถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด เพื่อคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรมิให้ได้รับผลกระทบจากการที่ผู้จัดสรรที่ดินละเลยหรือทอดทิ้ง ไม่บำรุงรักษาสาธารณูปโภค จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ </strong>ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 03 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</link>
<author><![CDATA[นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่ปัจจุบันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองว่ามีสิทธิทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนนั้น มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งพบว่าการลงโทษนั้น หลายกรณีกลับกลายเป็นการกระทำในลักษณะทารุณกรรมหรือทำร้ายอันส่งผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจของบุตร เป็นการเฆี่ยนตีบุตร หรือทำโทษด้วยวิธีการอื่นอันเป็นการด้อยค่า ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบุตร และไม่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดหรือพฤติกรรมของบุตรที่จำเป็นต้องว่ากล่าวสั่งสอน ประกอบกับการปรับแก้ไขสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองในการทำโทษบุตรนี้ เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคี ข้อเสนอแนะทั่วไป ฉบับที่ 8 (ค.ศ. 2006) (General Comment No. 8 (2006) The Right of the Child of Protection from Corporal Punishment and other Cruel or Degrading Forms of Punishment) ที่ออกตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และประเทศไทยได้ตอบรับและให้คำมั่นโดยสมัครใจที่จะปฏิบัติตามภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563) อีกด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 18 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</link>
<author><![CDATA[นายณัฐวุฒิ บัวประทุม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติรับรองคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเมื่อมีการกระทำความผิดอาญาเกิดขึ้นทั้งการควบคุมหรือขัง เพื่อดำเนินการสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน การควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยว่ากระทำความผิดและอยู่ระหว่างการสอบสวนหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาคดีของศาล การส่งบุคคลดังกล่าวเข้าสู่เรือนจำ จึงไม่แตกต่างกับการที่ต้องได้รับโทษ ทำให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาขาดอิสรภาพ อันเป็นการกระทบต่อสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่บุคคลควรได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ดังนั้นการกำหนดให้รัฐแจ้งสิทธิและจัดหาทนายความให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในทันทีและการกำหนดกรอบในการใช้ดุลพินิจกรณีการใช้สถานที่อื่นในการขังผู้ต้องหาหรือจำเลยในระหว่างการพิจารณาคดีหรือการจำคุกผู้ซึ่งต้องจำคุก รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ใช้การไต่สวนโดยการถ่ายทอดภาพและเสียงในลักษณะการประชุมทางจอภาพได้ในกรณีที่เหมาะสม ย่อมเป็นการพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อให้ประชาชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้รับความเป็นธรรมและได้รับสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญรับรองและคุ้มครองอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Tue, 05 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</link>
<author><![CDATA[นายเอกราช อุดมอำนวย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประปาแห่งชาติ พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ในปัจจุบันกิจการประปาส่วนใหญ่ของประเทศนั้นอยู่ในความดูแลของการประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค และการประปาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งยังขาดกฎหมายที่ให้อำนาจหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการกำหนดนโยบายและแผนแม่บทการบริหารและพัฒนากิจการประปาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้ง ขาดการกำกับดูแล มาตรฐานและคุณภาพในการให้บริการน้ำประปาแก่ประชาชนให้เหมาะสมแก่การอุปโภคบริโภค จึงสมควรให้มีกฎหมายเพื่อกำหนดนโยบาย มาตรฐาน การกำกับดูแล และแผนการบริหารและพัฒนาเกี่ยวกับการประปาของประเทศ เพื่อสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประชาชนได้รับบริการการประปาได้อย่างสะดวกประหยัด ปลอดภัย และทั่วถึง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 30 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</link>
<author><![CDATA[นางสาวศิริกัญญา ตันสกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (1) เพิ่มบทนิยามคำว่า "ผู้แทนเกษตรกรโคนม" (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (2) แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 4)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (3) แก้ไขเพิ่มเติมจำนวนการประชุมในแต่ละปี และรายละเอียดการประชุมคณะกรรมการโคนมและผลติภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 9 วรรคหนึ่ง)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (4) แก้ไขเพิ่มเติมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมให้มีความครอบคลุมยิ่งขึ้น รวมถึงกำหนดองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่แต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้ประกอบด้วยผู้แทนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 10) ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.1 กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการคำนวณต้นทุนในการผลิตน้ำนมโคและกำหนดราคาซื้อน้ำนมโคและผลิตภัณฑ์นมตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่น้ำนมดิบ ศูนย์รวมนม โรงงานแปรรูป ซึ่งรวมถึงกระบวนการระหว่างทาง รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ด้านคุณภาพ วันรับซื้อและวันหยุดรับซื้อน้ำนมโคของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.2 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานตามพระราชบัญญัตินี้ และอาจเชิญส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชนหรือบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง คำอธิบาย ความเห็นหรือคำแนะนำ รวมทั้งให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง คณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้ง ต้องประกอบด้วยผู้แทนเกษตรกรโคนม ผู้แทนองค์กรเกษตรกรโคนม ผู้แทนผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม และผู้แทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมนมในจำนวนที่เท่ากัน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.3 จัดทำรายงานการประชุม รายงานผลการดำเนินงานประจำปีของคณะกรรมการและข้อมูลการวิเคราะห์ต้นทุนและโครงสร้างราคานมและผลิตภัณฑ์นม โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการรับรอง</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.4 เผยแพร่รายงานการประชุมและรายงานผลการดำเนินกางานของคณะอนุกรรมการ โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการเห็นชอบ</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">โดยที่พระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ที่ใช้บังคับอยู่ ไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรให้มีการเพิ่มบทนิยาม แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม องค์ประกอบของคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ และกำหนดให้มีการเปิดเผยและเผยแพร่รายงานการประชุมและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมและคณะอนุกรรมการ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 23 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</link>
<author><![CDATA[นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗ เนื่องจากหลักเกณฑ์ในการดูแลสัตว์ตามพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 ขาดความชัดเจนของถ้อยคำ เกิดปัญหาในการตีความจนทำให้ผู้กระทำการทารุณกรรมสัตว์เข้าเหตุยกเว้นว่ามีเหตุอันสมควรและไม่มีความผิด ขาดกลไกการทำงาน เทคโนโลยีและการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับเหตุยกเว้นหรือการกระทำใดที่ไม่เป็นการทารุณกรรมสัตว์ ให้ชัดเจน กำหนดช่องทางให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือสัตว์โดยขอรับสัตว์ไปเลี้ยง กำหนดให้มีเงินอุดหนุนสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อช่วยเหลือให้การจัดสวัสดิภาพสัตว์สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างเหมาะสม และกำหนดให้มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสามารถติดตามสัตว์ได้เพื่อคุ้มครองมิให้สัตว์ถูกทารุณกรรมและบริหารจัดการการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>สาระสำคัญ</strong></p>
<p>1. แก้ไขเพิ่มเติมบทนิยาม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3) ดังนี้ </p>
<p> 1.1 คำว่า “สัตว์” เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูจากมนุษย์และไม่ต้องมีบัญชีหรือขึ้นทะเบียนไว้ (ร่างมาตรา 3)</p>
<p> 1.2 เพิ่มบทนิยามคำว่า “ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่” เพื่อกำหนดให้มีผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 4) </p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 5 และมาตรา 8) ดังนี้</p>
<p> 2.1 แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง โดยตัดกรรมการที่มาจากตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา<br>
ขั้นพื้นฐาน ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และผู้อำนวยการองค์การสวนสัตว์ออก และเพิ่มจำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากจำนวนเจ็ดคนเป็นจำนวนสิบสองคน (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 2.2 เพิ่มอำนาจหน้าที่ให้แก่คณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ในการกำหนดขอบเขตหรือปริมาณงานอันสมควรแก่สัตว์หรือกำหนดลักษณะงานอันไม่สมควรเพราะ เหตุที่สัตว์นั้นเจ็บป่วย ชรา หรืออ่อนอายุ (ร่างมาตรา 6) </p>
<p> </p>
<p>3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 และมาตรา 13) ดังนี้</p>
<p> 3.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไร ให้จดทะเบียนเป็นองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ต่อนายทะเบียน (ร่างมาตรา 7)</p>
<p> 3.2 กำหนดให้นายทะเบียนมีอํานาจเพิกถอนการจดทะเบียนขององค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ ในกรณีที่ปรากฏว่าองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ได้ดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (ร่างมาตรา 8)</p>
<p>4. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยสถานสงเคราะห์สัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 14 มาตรา 15 และมาตรา 16) ดังนี้</p>
<p> 4.1 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดำเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันให้จดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต่อนายทะเบียน ส่วนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต้องมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับหรือเป็นมาตรฐานที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ให้มีมาตรฐานสากล (ร่างมาตรา 9)</p>
<p> 4.2 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วอาจได้รับการสนับสนุน จากกรมปศุสัตว์หรือหน่วยงานอื่นของรัฐในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดทำระบบ หรือหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ให้ประชาชนขอสัตว์จากสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อนำไปเป็นสัตว์บ้าน หรือสัตว์เลี้ยงเพื่อให้เป็นเพื่อนหรือเพื่อการอื่นใดตามที่อธิบดีประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 10)</p>
<p> 4.3 กำหนดให้นายทะเบียนมีอำนาจเพิกถอนการจดทะเบียนสถานสงเคราะห์สัตว์ ในกรณีที่สถานสงเคราะห์สัตว์กระทำการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์หรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมรวมทั้งกำหนดให้มีระเบียบเกี่ยวกับการให้เงินอุดหนุนการจัดสวัสดิภาพสัตว์แก่สถานสงเคราะห์สัตว์ตามที่คณะกรรมการกำหนด เพื่อประโยชน์ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม และช่วยเหลือสถานสงเคราะห์สัตว์มิให้ถูกเพิกถอนการจดทะเบียน (ร่างมาตรา 11)</p>
<p>5. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการอุทธรณ์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 17 และมาตรา 18<br>
วรรคหนึ่ง) ดังนี้</p>
<p> 5.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดําเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งไม่รับจดทะเบียนจากนายทะเบียน (ร่างมาตรา 12)</p>
<p> 5.2 กำหนดให้องค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์หรือสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งให้ระงับการดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม (ร่างมาตรา 13)</p>
<p>6. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการป้องกันการทารุณกรรมสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p> 6.1 แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้กระทําการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์เพื่อให้เกิดความชัดเจน (ร่างมาตรา 14)</p>
<p> 6.2 กำหนดให้การตัด หู หาง ขน เขา หรืองาเพื่อสุขอนามัยของสัตว์โดยไม่เป็นอันตราย ต่อสัตว์หรือการดำรงชีวิตของสัตว์ ไม่ถือว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ (ร่างมาตรา 15)</p>
<p>7. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 22 และมาตรา 23)</p>
<p> 7.1 กำหนดให้เจ้าของสัตว์ต้องดําเนินการจดทะเบียนสัตว์เลี้ยงและจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ของตนให้เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดซึ่งอย่างน้อยต้องมีขั้นตอนการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สามารถติดตามสัตว์ได้ (ร่างมาตรา 16)</p>
<p> 7.2 กำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้เจ้าของสัตว์ปล่อย ละทิ้ง หรือกระทําการใด ๆ ให้สัตว์พ้นจากการดูแลของตนหรือให้เป็นภาระของผู้อื่นโดยไม่มีเหตุอันสมควร (ร่างมาตรา 17)</p>
<p>8. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 25 มาตรา 26 และมาตรา 30) </p>
<p> 8.1 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจหน้าที่ในการยึดหรืออายัดสัตว์หรือซากของสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าถูกฆ่าหรือถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ไม่เหมาะสม รวมทั้งเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดหรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามตามพระราชบัญญัตินี้เพื่อเป็นพยานหลักฐานในการดำเนินคดี (ร่างมาตรา 18)</p>
<p> 8.2 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับคำร้องหรือเห็นว่าการให้สัตว์อยู่ในความครอบครองของเจ้าของอาจจะถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่ไม่เหมาะสมอีก พนักงานเจ้าหน้าที่อาจเสนอให้ศาลพิจารณาสั่งห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้กระทำความผิดนั้นครอบครองสัตว์ดังกล่าวเป็น<br>
การชั่วคราว และมอบให้หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่เห็นสมควรเป็นผู้ครอบครองหรือดูแลสัตว์นั้นจนกว่าจะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่ง (ร่างมาตรา 19)</p>
<p> 8.3 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดําเนินการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ตามความเหมาะสมในกรณีที่พบสัตว์ถูกปล่อย ละทิ้ง หรือไม่มีเจ้าของหรือเจ้าของไม่สามารถดูแลสัตว์ได้อีกต่อไป(ร่างมาตรา 20)</p>
<p> 8.4 กำหนดให้ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 21)</p>
<p>9. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยบทกำหนดโทษ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 32)</p>
<p> 9. เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับในกรณีที่ศาลเห็นว่าผู้กระทำความผิดไม่มีความสามารถ ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมศาลอาจสั่งห้ามผู้กระทำความผิดครอบครองสัตว์เป็นการชั่วคราวหรือโดยถาวรก็ได้ (ร่างมาตรา 22)</p>
<p>10. การกำหนดให้ผู้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน<br>
การทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 เป็นผู้ได้รับการจดทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัตินี้ต่อไปจนกว่าจะสิ้นอายุการขึ้นทะเบียน</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 22 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</link>
<author><![CDATA[นายร่มธรรม ขำนุรักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจาย...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่คลื่นความถี่ของวิทยุภาคประชาชน ที่มีการส่งกระจายเสียงประเภทใบอนุญาตประกอบกิจการบริการสาธารณะ ใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน ใบอนุญาตประกอบกิจการทางธุรกิจระดับท้องถิ่นที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ เป็นการประกอบกิจการขนาดเล็กของชุมชน ไม่สมควรที่จะนำคลื่นความถี่ออกไปประมูลเพราะจะทำให้ผู้ประกอบกิจการรายใหญ่เข้าครอบงำวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชนได้ อีกทั้งต้องการส่งเสริมให้สถานีวิทยุมีรายได้เพียงพอในการประกอบกิจการ นอกจากนี้ บทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้มีอัตราโทษที่สูงเกินสมควร ไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชน และวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ เนื่องจากเป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กรัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ มีรายได้น้อย จึงสมควรแก้ไขให้เกิดความเหมาะสมเป็นธรรม และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในการมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารระดับท้องถิ่น และใช้บริการวิทยุภาคประชาชนในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น และส่งเสริมวิทยุภาคประชาชน วิทยุกิจการบริการชุมชนให้สามารถประกอบกิจการอยู่ได้ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 20 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานี และบทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้อัตราโทษที่สูงไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ ที่เป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กมีรายได้น้อย รัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ สมควรกำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน สามารถมีรายได้จากการบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่นเท่าที่จำเป็นเพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้นการแสวงหากำไร และกำหนดโทษทางปกครองที่เหมาะสมสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ โดยร่างพระราชบัญญัติมีสาระสำคัญ ดังนี้</p>
<p> 1. กำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชนสามารถมีรายได้จาก<br>
การบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่น เพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้น<br>
การแสวงหากำไร (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 21)</p>
<p> 2. กำหนดการลงโทษสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 61)<br>
<br>
</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 19 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. .... ฉบับนี้ เสนอแก้ไขเนื่องจากพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 มีบทบัญญัติบางมาตราที่อาจจะขัดต่อหลักการของอนุสัญญาประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก หรือหลักสิทธิมนุษยชนและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินและสิทธิในการประกอบอาชีพของประชาชน การเลือกปฏิบัติ ขาดความเสมอภาค และบังคับใช้กฎหมายโดยไม่เท่าเทียมกัน รวมทั้งมีบทกำหนดโทษที่ไม่เป็นธรรม ซ้ำช้อน และไม่ได้สัดส่วนกับการลงโทษในความผิดทั่วไป จึงแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเนื่องมาจากการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว รวมทั้งบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนและชาวประมงผู้ประกอบอาชีพโดยสุจริตให้ได้รับความเป็นธรรม ตลอดจนส่งเสริมการทำประมงให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศและเกิดประโยชน์สูงสุด การจัดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบและพิจารณาลงโทษและคณะกรรมการมาตรการทางปกครองในการพิจารณาออกคำสั่งตามระดับความรุนแรงของการกระทำความผิด สภาพการกระทำความผิดซ้ำ ตลอดจนกำหนดโทษทางปกครองและโทษทางอาญาที่เหมาะสม เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพและป้องกันการกระทำผิด</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 08 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</link>
<author><![CDATA[นายคอซีย์ มามุ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
itpcc
changed the title
Feat: Add Thai Parliament's Public hearing (according to Thai constitution section 77)
feat: Add Thai Parliament's Public hearing (according to Thai constitution section 77)
Jan 16, 2024
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Tue, 16 Jan 2024 09:45:58 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบัน ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้ซื้อที่ดินจัดสรร ตลอดจนยังขาดหน่วยงานและมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรหรือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จากการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่ บำรุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน และการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรหรือการอุทิศทรัพย์สินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งประชาชนโดยทั่วไปใช้สอยร่วมกัน กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะในที่ดินจัดสรร รวมถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด เพื่อคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรมิให้ได้รับผลกระทบจากการที่ผู้จัดสรรที่ดินละเลยหรือทอดทิ้ง ไม่บำรุงรักษาสาธารณูปโภค จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ </strong>ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 03 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</link>
<author><![CDATA[นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่ปัจจุบันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองว่ามีสิทธิทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนนั้น มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งพบว่าการลงโทษนั้น หลายกรณีกลับกลายเป็นการกระทำในลักษณะทารุณกรรมหรือทำร้ายอันส่งผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจของบุตร เป็นการเฆี่ยนตีบุตร หรือทำโทษด้วยวิธีการอื่นอันเป็นการด้อยค่า ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบุตร และไม่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดหรือพฤติกรรมของบุตรที่จำเป็นต้องว่ากล่าวสั่งสอน ประกอบกับการปรับแก้ไขสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองในการทำโทษบุตรนี้ เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคี ข้อเสนอแนะทั่วไป ฉบับที่ 8 (ค.ศ. 2006) (General Comment No. 8 (2006) The Right of the Child of Protection from Corporal Punishment and other Cruel or Degrading Forms of Punishment) ที่ออกตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และประเทศไทยได้ตอบรับและให้คำมั่นโดยสมัครใจที่จะปฏิบัติตามภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563) อีกด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 18 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</link>
<author><![CDATA[นายณัฐวุฒิ บัวประทุม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติรับรองคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเมื่อมีการกระทำความผิดอาญาเกิดขึ้นทั้งการควบคุมหรือขัง เพื่อดำเนินการสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน การควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยว่ากระทำความผิดและอยู่ระหว่างการสอบสวนหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาคดีของศาล การส่งบุคคลดังกล่าวเข้าสู่เรือนจำ จึงไม่แตกต่างกับการที่ต้องได้รับโทษ ทำให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาขาดอิสรภาพ อันเป็นการกระทบต่อสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่บุคคลควรได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ดังนั้นการกำหนดให้รัฐแจ้งสิทธิและจัดหาทนายความให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในทันทีและการกำหนดกรอบในการใช้ดุลพินิจกรณีการใช้สถานที่อื่นในการขังผู้ต้องหาหรือจำเลยในระหว่างการพิจารณาคดีหรือการจำคุกผู้ซึ่งต้องจำคุก รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ใช้การไต่สวนโดยการถ่ายทอดภาพและเสียงในลักษณะการประชุมทางจอภาพได้ในกรณีที่เหมาะสม ย่อมเป็นการพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อให้ประชาชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้รับความเป็นธรรมและได้รับสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญรับรองและคุ้มครองอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Tue, 05 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</link>
<author><![CDATA[นายเอกราช อุดมอำนวย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประปาแห่งชาติ พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ในปัจจุบันกิจการประปาส่วนใหญ่ของประเทศนั้นอยู่ในความดูแลของการประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค และการประปาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งยังขาดกฎหมายที่ให้อำนาจหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการกำหนดนโยบายและแผนแม่บทการบริหารและพัฒนากิจการประปาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้ง ขาดการกำกับดูแล มาตรฐานและคุณภาพในการให้บริการน้ำประปาแก่ประชาชนให้เหมาะสมแก่การอุปโภคบริโภค จึงสมควรให้มีกฎหมายเพื่อกำหนดนโยบาย มาตรฐาน การกำกับดูแล และแผนการบริหารและพัฒนาเกี่ยวกับการประปาของประเทศ เพื่อสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประชาชนได้รับบริการการประปาได้อย่างสะดวกประหยัด ปลอดภัย และทั่วถึง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 30 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</link>
<author><![CDATA[นางสาวศิริกัญญา ตันสกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (1) เพิ่มบทนิยามคำว่า "ผู้แทนเกษตรกรโคนม" (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (2) แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 4)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (3) แก้ไขเพิ่มเติมจำนวนการประชุมในแต่ละปี และรายละเอียดการประชุมคณะกรรมการโคนมและผลติภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 9 วรรคหนึ่ง)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (4) แก้ไขเพิ่มเติมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมให้มีความครอบคลุมยิ่งขึ้น รวมถึงกำหนดองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่แต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้ประกอบด้วยผู้แทนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 10) ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.1 กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการคำนวณต้นทุนในการผลิตน้ำนมโคและกำหนดราคาซื้อน้ำนมโคและผลิตภัณฑ์นมตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่น้ำนมดิบ ศูนย์รวมนม โรงงานแปรรูป ซึ่งรวมถึงกระบวนการระหว่างทาง รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ด้านคุณภาพ วันรับซื้อและวันหยุดรับซื้อน้ำนมโคของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.2 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานตามพระราชบัญญัตินี้ และอาจเชิญส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชนหรือบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง คำอธิบาย ความเห็นหรือคำแนะนำ รวมทั้งให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง คณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้ง ต้องประกอบด้วยผู้แทนเกษตรกรโคนม ผู้แทนองค์กรเกษตรกรโคนม ผู้แทนผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม และผู้แทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมนมในจำนวนที่เท่ากัน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.3 จัดทำรายงานการประชุม รายงานผลการดำเนินงานประจำปีของคณะกรรมการและข้อมูลการวิเคราะห์ต้นทุนและโครงสร้างราคานมและผลิตภัณฑ์นม โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการรับรอง</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.4 เผยแพร่รายงานการประชุมและรายงานผลการดำเนินกางานของคณะอนุกรรมการ โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการเห็นชอบ</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">โดยที่พระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ที่ใช้บังคับอยู่ ไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรให้มีการเพิ่มบทนิยาม แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม องค์ประกอบของคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ และกำหนดให้มีการเปิดเผยและเผยแพร่รายงานการประชุมและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมและคณะอนุกรรมการ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 23 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</link>
<author><![CDATA[นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗ เนื่องจากหลักเกณฑ์ในการดูแลสัตว์ตามพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 ขาดความชัดเจนของถ้อยคำ เกิดปัญหาในการตีความจนทำให้ผู้กระทำการทารุณกรรมสัตว์เข้าเหตุยกเว้นว่ามีเหตุอันสมควรและไม่มีความผิด ขาดกลไกการทำงาน เทคโนโลยีและการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับเหตุยกเว้นหรือการกระทำใดที่ไม่เป็นการทารุณกรรมสัตว์ ให้ชัดเจน กำหนดช่องทางให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือสัตว์โดยขอรับสัตว์ไปเลี้ยง กำหนดให้มีเงินอุดหนุนสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อช่วยเหลือให้การจัดสวัสดิภาพสัตว์สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างเหมาะสม และกำหนดให้มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสามารถติดตามสัตว์ได้เพื่อคุ้มครองมิให้สัตว์ถูกทารุณกรรมและบริหารจัดการการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>สาระสำคัญ</strong></p>
<p>1. แก้ไขเพิ่มเติมบทนิยาม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3) ดังนี้ </p>
<p> 1.1 คำว่า “สัตว์” เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูจากมนุษย์และไม่ต้องมีบัญชีหรือขึ้นทะเบียนไว้ (ร่างมาตรา 3)</p>
<p> 1.2 เพิ่มบทนิยามคำว่า “ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่” เพื่อกำหนดให้มีผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 4) </p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 5 และมาตรา 8) ดังนี้</p>
<p> 2.1 แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง โดยตัดกรรมการที่มาจากตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา<br>
ขั้นพื้นฐาน ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และผู้อำนวยการองค์การสวนสัตว์ออก และเพิ่มจำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากจำนวนเจ็ดคนเป็นจำนวนสิบสองคน (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 2.2 เพิ่มอำนาจหน้าที่ให้แก่คณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ในการกำหนดขอบเขตหรือปริมาณงานอันสมควรแก่สัตว์หรือกำหนดลักษณะงานอันไม่สมควรเพราะ เหตุที่สัตว์นั้นเจ็บป่วย ชรา หรืออ่อนอายุ (ร่างมาตรา 6) </p>
<p> </p>
<p>3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 และมาตรา 13) ดังนี้</p>
<p> 3.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไร ให้จดทะเบียนเป็นองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ต่อนายทะเบียน (ร่างมาตรา 7)</p>
<p> 3.2 กำหนดให้นายทะเบียนมีอํานาจเพิกถอนการจดทะเบียนขององค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ ในกรณีที่ปรากฏว่าองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ได้ดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (ร่างมาตรา 8)</p>
<p>4. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยสถานสงเคราะห์สัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 14 มาตรา 15 และมาตรา 16) ดังนี้</p>
<p> 4.1 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดำเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันให้จดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต่อนายทะเบียน ส่วนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต้องมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับหรือเป็นมาตรฐานที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ให้มีมาตรฐานสากล (ร่างมาตรา 9)</p>
<p> 4.2 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วอาจได้รับการสนับสนุน จากกรมปศุสัตว์หรือหน่วยงานอื่นของรัฐในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดทำระบบ หรือหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ให้ประชาชนขอสัตว์จากสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อนำไปเป็นสัตว์บ้าน หรือสัตว์เลี้ยงเพื่อให้เป็นเพื่อนหรือเพื่อการอื่นใดตามที่อธิบดีประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 10)</p>
<p> 4.3 กำหนดให้นายทะเบียนมีอำนาจเพิกถอนการจดทะเบียนสถานสงเคราะห์สัตว์ ในกรณีที่สถานสงเคราะห์สัตว์กระทำการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์หรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมรวมทั้งกำหนดให้มีระเบียบเกี่ยวกับการให้เงินอุดหนุนการจัดสวัสดิภาพสัตว์แก่สถานสงเคราะห์สัตว์ตามที่คณะกรรมการกำหนด เพื่อประโยชน์ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม และช่วยเหลือสถานสงเคราะห์สัตว์มิให้ถูกเพิกถอนการจดทะเบียน (ร่างมาตรา 11)</p>
<p>5. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการอุทธรณ์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 17 และมาตรา 18<br>
วรรคหนึ่ง) ดังนี้</p>
<p> 5.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดําเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งไม่รับจดทะเบียนจากนายทะเบียน (ร่างมาตรา 12)</p>
<p> 5.2 กำหนดให้องค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์หรือสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งให้ระงับการดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม (ร่างมาตรา 13)</p>
<p>6. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการป้องกันการทารุณกรรมสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p> 6.1 แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้กระทําการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์เพื่อให้เกิดความชัดเจน (ร่างมาตรา 14)</p>
<p> 6.2 กำหนดให้การตัด หู หาง ขน เขา หรืองาเพื่อสุขอนามัยของสัตว์โดยไม่เป็นอันตราย ต่อสัตว์หรือการดำรงชีวิตของสัตว์ ไม่ถือว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ (ร่างมาตรา 15)</p>
<p>7. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 22 และมาตรา 23)</p>
<p> 7.1 กำหนดให้เจ้าของสัตว์ต้องดําเนินการจดทะเบียนสัตว์เลี้ยงและจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ของตนให้เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดซึ่งอย่างน้อยต้องมีขั้นตอนการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สามารถติดตามสัตว์ได้ (ร่างมาตรา 16)</p>
<p> 7.2 กำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้เจ้าของสัตว์ปล่อย ละทิ้ง หรือกระทําการใด ๆ ให้สัตว์พ้นจากการดูแลของตนหรือให้เป็นภาระของผู้อื่นโดยไม่มีเหตุอันสมควร (ร่างมาตรา 17)</p>
<p>8. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 25 มาตรา 26 และมาตรา 30) </p>
<p> 8.1 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจหน้าที่ในการยึดหรืออายัดสัตว์หรือซากของสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าถูกฆ่าหรือถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ไม่เหมาะสม รวมทั้งเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดหรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามตามพระราชบัญญัตินี้เพื่อเป็นพยานหลักฐานในการดำเนินคดี (ร่างมาตรา 18)</p>
<p> 8.2 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับคำร้องหรือเห็นว่าการให้สัตว์อยู่ในความครอบครองของเจ้าของอาจจะถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่ไม่เหมาะสมอีก พนักงานเจ้าหน้าที่อาจเสนอให้ศาลพิจารณาสั่งห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้กระทำความผิดนั้นครอบครองสัตว์ดังกล่าวเป็น<br>
การชั่วคราว และมอบให้หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่เห็นสมควรเป็นผู้ครอบครองหรือดูแลสัตว์นั้นจนกว่าจะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่ง (ร่างมาตรา 19)</p>
<p> 8.3 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดําเนินการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ตามความเหมาะสมในกรณีที่พบสัตว์ถูกปล่อย ละทิ้ง หรือไม่มีเจ้าของหรือเจ้าของไม่สามารถดูแลสัตว์ได้อีกต่อไป(ร่างมาตรา 20)</p>
<p> 8.4 กำหนดให้ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 21)</p>
<p>9. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยบทกำหนดโทษ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 32)</p>
<p> 9. เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับในกรณีที่ศาลเห็นว่าผู้กระทำความผิดไม่มีความสามารถ ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมศาลอาจสั่งห้ามผู้กระทำความผิดครอบครองสัตว์เป็นการชั่วคราวหรือโดยถาวรก็ได้ (ร่างมาตรา 22)</p>
<p>10. การกำหนดให้ผู้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน<br>
การทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 เป็นผู้ได้รับการจดทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัตินี้ต่อไปจนกว่าจะสิ้นอายุการขึ้นทะเบียน</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 22 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</link>
<author><![CDATA[นายร่มธรรม ขำนุรักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจาย...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่คลื่นความถี่ของวิทยุภาคประชาชน ที่มีการส่งกระจายเสียงประเภทใบอนุญาตประกอบกิจการบริการสาธารณะ ใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน ใบอนุญาตประกอบกิจการทางธุรกิจระดับท้องถิ่นที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ เป็นการประกอบกิจการขนาดเล็กของชุมชน ไม่สมควรที่จะนำคลื่นความถี่ออกไปประมูลเพราะจะทำให้ผู้ประกอบกิจการรายใหญ่เข้าครอบงำวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชนได้ อีกทั้งต้องการส่งเสริมให้สถานีวิทยุมีรายได้เพียงพอในการประกอบกิจการ นอกจากนี้ บทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้มีอัตราโทษที่สูงเกินสมควร ไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชน และวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ เนื่องจากเป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กรัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ มีรายได้น้อย จึงสมควรแก้ไขให้เกิดความเหมาะสมเป็นธรรม และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในการมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารระดับท้องถิ่น และใช้บริการวิทยุภาคประชาชนในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น และส่งเสริมวิทยุภาคประชาชน วิทยุกิจการบริการชุมชนให้สามารถประกอบกิจการอยู่ได้ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 20 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานี และบทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้อัตราโทษที่สูงไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ ที่เป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กมีรายได้น้อย รัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ สมควรกำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน สามารถมีรายได้จากการบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่นเท่าที่จำเป็นเพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้นการแสวงหากำไร และกำหนดโทษทางปกครองที่เหมาะสมสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ โดยร่างพระราชบัญญัติมีสาระสำคัญ ดังนี้</p>
<p> 1. กำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชนสามารถมีรายได้จาก<br>
การบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่น เพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้น<br>
การแสวงหากำไร (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 21)</p>
<p> 2. กำหนดการลงโทษสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 61)<br>
<br>
</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 19 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. .... ฉบับนี้ เสนอแก้ไขเนื่องจากพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 มีบทบัญญัติบางมาตราที่อาจจะขัดต่อหลักการของอนุสัญญาประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก หรือหลักสิทธิมนุษยชนและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินและสิทธิในการประกอบอาชีพของประชาชน การเลือกปฏิบัติ ขาดความเสมอภาค และบังคับใช้กฎหมายโดยไม่เท่าเทียมกัน รวมทั้งมีบทกำหนดโทษที่ไม่เป็นธรรม ซ้ำช้อน และไม่ได้สัดส่วนกับการลงโทษในความผิดทั่วไป จึงแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเนื่องมาจากการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว รวมทั้งบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนและชาวประมงผู้ประกอบอาชีพโดยสุจริตให้ได้รับความเป็นธรรม ตลอดจนส่งเสริมการทำประมงให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศและเกิดประโยชน์สูงสุด การจัดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบและพิจารณาลงโทษและคณะกรรมการมาตรการทางปกครองในการพิจารณาออกคำสั่งตามระดับความรุนแรงของการกระทำความผิด สภาพการกระทำความผิดซ้ำ ตลอดจนกำหนดโทษทางปกครองและโทษทางอาญาที่เหมาะสม เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพและป้องกันการกระทำผิด</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 08 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</link>
<author><![CDATA[นายคอซีย์ มามุ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Thu, 18 Jan 2024 14:30:46 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบัน ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้ซื้อที่ดินจัดสรร ตลอดจนยังขาดหน่วยงานและมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรหรือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จากการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่ บำรุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน และการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรหรือการอุทิศทรัพย์สินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งประชาชนโดยทั่วไปใช้สอยร่วมกัน กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะในที่ดินจัดสรร รวมถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด เพื่อคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรมิให้ได้รับผลกระทบจากการที่ผู้จัดสรรที่ดินละเลยหรือทอดทิ้ง ไม่บำรุงรักษาสาธารณูปโภค จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ </strong>ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 03 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</link>
<author><![CDATA[นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่ปัจจุบันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองว่ามีสิทธิทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนนั้น มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งพบว่าการลงโทษนั้น หลายกรณีกลับกลายเป็นการกระทำในลักษณะทารุณกรรมหรือทำร้ายอันส่งผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจของบุตร เป็นการเฆี่ยนตีบุตร หรือทำโทษด้วยวิธีการอื่นอันเป็นการด้อยค่า ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบุตร และไม่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดหรือพฤติกรรมของบุตรที่จำเป็นต้องว่ากล่าวสั่งสอน ประกอบกับการปรับแก้ไขสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองในการทำโทษบุตรนี้ เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคี ข้อเสนอแนะทั่วไป ฉบับที่ 8 (ค.ศ. 2006) (General Comment No. 8 (2006) The Right of the Child of Protection from Corporal Punishment and other Cruel or Degrading Forms of Punishment) ที่ออกตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และประเทศไทยได้ตอบรับและให้คำมั่นโดยสมัครใจที่จะปฏิบัติตามภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563) อีกด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 18 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</link>
<author><![CDATA[นายณัฐวุฒิ บัวประทุม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติรับรองคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเมื่อมีการกระทำความผิดอาญาเกิดขึ้นทั้งการควบคุมหรือขัง เพื่อดำเนินการสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน การควบคุมตัวผู้ต้องสงสัยว่ากระทำความผิดและอยู่ระหว่างการสอบสวนหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาคดีของศาล การส่งบุคคลดังกล่าวเข้าสู่เรือนจำ จึงไม่แตกต่างกับการที่ต้องได้รับโทษ ทำให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาขาดอิสรภาพ อันเป็นการกระทบต่อสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่บุคคลควรได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ดังนั้นการกำหนดให้รัฐแจ้งสิทธิและจัดหาทนายความให้ผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหาซึ่งถูกควบคุมหรือขังในทันทีและการกำหนดกรอบในการใช้ดุลพินิจกรณีการใช้สถานที่อื่นในการขังผู้ต้องหาหรือจำเลยในระหว่างการพิจารณาคดีหรือการจำคุกผู้ซึ่งต้องจำคุก รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ใช้การไต่สวนโดยการถ่ายทอดภาพและเสียงในลักษณะการประชุมทางจอภาพได้ในกรณีที่เหมาะสม ย่อมเป็นการพัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อให้ประชาชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้รับความเป็นธรรมและได้รับสิทธิตามที่รัฐธรรมนูญรับรองและคุ้มครองอย่างแท้จริง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Tue, 05 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=332</link>
<author><![CDATA[นายเอกราช อุดมอำนวย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประปาแห่งชาติ พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ในปัจจุบันกิจการประปาส่วนใหญ่ของประเทศนั้นอยู่ในความดูแลของการประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค และการประปาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งยังขาดกฎหมายที่ให้อำนาจหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐ เพื่อกำหนดกรอบแนวทางในการกำหนดนโยบายและแผนแม่บทการบริหารและพัฒนากิจการประปาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้ง ขาดการกำกับดูแล มาตรฐานและคุณภาพในการให้บริการน้ำประปาแก่ประชาชนให้เหมาะสมแก่การอุปโภคบริโภค จึงสมควรให้มีกฎหมายเพื่อกำหนดนโยบาย มาตรฐาน การกำกับดูแล และแผนการบริหารและพัฒนาเกี่ยวกับการประปาของประเทศ เพื่อสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประชาชนได้รับบริการการประปาได้อย่างสะดวกประหยัด ปลอดภัย และทั่วถึง จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 30 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=331</link>
<author><![CDATA[นางสาวศิริกัญญา ตันสกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ร่างพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (1) เพิ่มบทนิยามคำว่า "ผู้แทนเกษตรกรโคนม" (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (2) แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 4)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (3) แก้ไขเพิ่มเติมจำนวนการประชุมในแต่ละปี และรายละเอียดการประชุมคณะกรรมการโคนมและผลติภัณฑ์นม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 9 วรรคหนึ่ง)</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> (4) แก้ไขเพิ่มเติมอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมให้มีความครอบคลุมยิ่งขึ้น รวมถึงกำหนดองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานที่แต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้ประกอบด้วยผู้แทนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 10) ดังนี้ </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.1 กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการคำนวณต้นทุนในการผลิตน้ำนมโคและกำหนดราคาซื้อน้ำนมโคและผลิตภัณฑ์นมตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่น้ำนมดิบ ศูนย์รวมนม โรงงานแปรรูป ซึ่งรวมถึงกระบวนการระหว่างทาง รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ด้านคุณภาพ วันรับซื้อและวันหยุดรับซื้อน้ำนมโคของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4.2 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานตามพระราชบัญญัตินี้ และอาจเชิญส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชนหรือบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง คำอธิบาย ความเห็นหรือคำแนะนำ รวมทั้งให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง คณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้ง ต้องประกอบด้วยผู้แทนเกษตรกรโคนม ผู้แทนองค์กรเกษตรกรโคนม ผู้แทนผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม และผู้แทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมนมในจำนวนที่เท่ากัน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.3 จัดทำรายงานการประชุม รายงานผลการดำเนินงานประจำปีของคณะกรรมการและข้อมูลการวิเคราะห์ต้นทุนและโครงสร้างราคานมและผลิตภัณฑ์นม โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการรับรอง</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">4.4 เผยแพร่รายงานการประชุมและรายงานผลการดำเนินกางานของคณะอนุกรรมการ โดยให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชนภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันที่คณะกรรมการเห็นชอบ</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> <span style="color:black">โดยที่พระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ. 2551 ที่ใช้บังคับอยู่ ไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน จึงสมควรให้มีการเพิ่มบทนิยาม แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม องค์ประกอบของคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ และกำหนดให้มีการเปิดเผยและเผยแพร่รายงานการประชุมและผลการดำเนินงานของคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมและคณะอนุกรรมการ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความโปร่งใสและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 23 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=330</link>
<author><![CDATA[นายวิโรจน์ ลักขณาอดิศร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๗ เนื่องจากหลักเกณฑ์ในการดูแลสัตว์ตามพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 ขาดความชัดเจนของถ้อยคำ เกิดปัญหาในการตีความจนทำให้ผู้กระทำการทารุณกรรมสัตว์เข้าเหตุยกเว้นว่ามีเหตุอันสมควรและไม่มีความผิด ขาดกลไกการทำงาน เทคโนโลยีและการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับเหตุยกเว้นหรือการกระทำใดที่ไม่เป็นการทารุณกรรมสัตว์ ให้ชัดเจน กำหนดช่องทางให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือสัตว์โดยขอรับสัตว์ไปเลี้ยง กำหนดให้มีเงินอุดหนุนสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อช่วยเหลือให้การจัดสวัสดิภาพสัตว์สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างเหมาะสม และกำหนดให้มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสามารถติดตามสัตว์ได้เพื่อคุ้มครองมิให้สัตว์ถูกทารุณกรรมและบริหารจัดการการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>สาระสำคัญ</strong></p>
<p>1. แก้ไขเพิ่มเติมบทนิยาม (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3) ดังนี้ </p>
<p> 1.1 คำว่า “สัตว์” เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูจากมนุษย์และไม่ต้องมีบัญชีหรือขึ้นทะเบียนไว้ (ร่างมาตรา 3)</p>
<p> 1.2 เพิ่มบทนิยามคำว่า “ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่” เพื่อกำหนดให้มีผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 4) </p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 5 และมาตรา 8) ดังนี้</p>
<p> 2.1 แก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบของคณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง โดยตัดกรรมการที่มาจากตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา<br>
ขั้นพื้นฐาน ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และผู้อำนวยการองค์การสวนสัตว์ออก และเพิ่มจำนวนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากจำนวนเจ็ดคนเป็นจำนวนสิบสองคน (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 2.2 เพิ่มอำนาจหน้าที่ให้แก่คณะกรรมการป้องกันการทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ในการกำหนดขอบเขตหรือปริมาณงานอันสมควรแก่สัตว์หรือกำหนดลักษณะงานอันไม่สมควรเพราะ เหตุที่สัตว์นั้นเจ็บป่วย ชรา หรืออ่อนอายุ (ร่างมาตรา 6) </p>
<p> </p>
<p>3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 และมาตรา 13) ดังนี้</p>
<p> 3.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไร ให้จดทะเบียนเป็นองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ต่อนายทะเบียน (ร่างมาตรา 7)</p>
<p> 3.2 กำหนดให้นายทะเบียนมีอํานาจเพิกถอนการจดทะเบียนขององค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ ในกรณีที่ปรากฏว่าองค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์ได้ดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (ร่างมาตรา 8)</p>
<p>4. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยสถานสงเคราะห์สัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 14 มาตรา 15 และมาตรา 16) ดังนี้</p>
<p> 4.1 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดำเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันให้จดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต่อนายทะเบียน ส่วนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจดทะเบียนเป็นสถานสงเคราะห์สัตว์ต้องมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับหรือเป็นมาตรฐานที่คณะกรรมการให้ความเห็นชอบเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพสัตว์ให้มีมาตรฐานสากล (ร่างมาตรา 9)</p>
<p> 4.2 กำหนดให้ผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วอาจได้รับการสนับสนุน จากกรมปศุสัตว์หรือหน่วยงานอื่นของรัฐในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดทำระบบ หรือหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ให้ประชาชนขอสัตว์จากสถานสงเคราะห์สัตว์เพื่อนำไปเป็นสัตว์บ้าน หรือสัตว์เลี้ยงเพื่อให้เป็นเพื่อนหรือเพื่อการอื่นใดตามที่อธิบดีประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 10)</p>
<p> 4.3 กำหนดให้นายทะเบียนมีอำนาจเพิกถอนการจดทะเบียนสถานสงเคราะห์สัตว์ ในกรณีที่สถานสงเคราะห์สัตว์กระทำการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์หรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมรวมทั้งกำหนดให้มีระเบียบเกี่ยวกับการให้เงินอุดหนุนการจัดสวัสดิภาพสัตว์แก่สถานสงเคราะห์สัตว์ตามที่คณะกรรมการกำหนด เพื่อประโยชน์ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม และช่วยเหลือสถานสงเคราะห์สัตว์มิให้ถูกเพิกถอนการจดทะเบียน (ร่างมาตรา 11)</p>
<p>5. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการอุทธรณ์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 17 และมาตรา 18<br>
วรรคหนึ่ง) ดังนี้</p>
<p> 5.1 กำหนดให้คณะบุคคลหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์หรือดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทารุณกรรมหรือการจัดสวัสดิภาพสัตว์และไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือผู้ซึ่งจัดตั้งสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ดําเนินกิจกรรมในลักษณะที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในทางการเมืองหรือไม่แสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการได้ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งไม่รับจดทะเบียนจากนายทะเบียน (ร่างมาตรา 12)</p>
<p> 5.2 กำหนดให้องค์กรจัดสวัสดิภาพสัตว์หรือสถานสงเคราะห์สัตว์ที่ได้จดทะเบียนแล้วมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งให้ระงับการดําเนินกิจกรรมโดยฝ่าฝืนกฎหมายหรือดําเนินการในทางการเมืองหรือแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกันหรือกระทําการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่จัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสม (ร่างมาตรา 13)</p>
<p>6. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการป้องกันการทารุณกรรมสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p> 6.1 แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้กระทําการอันเป็นการทารุณกรรมสัตว์เพื่อให้เกิดความชัดเจน (ร่างมาตรา 14)</p>
<p> 6.2 กำหนดให้การตัด หู หาง ขน เขา หรืองาเพื่อสุขอนามัยของสัตว์โดยไม่เป็นอันตราย ต่อสัตว์หรือการดำรงชีวิตของสัตว์ ไม่ถือว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ (ร่างมาตรา 15)</p>
<p>7. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการจัดสวัสดิภาพสัตว์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 22 และมาตรา 23)</p>
<p> 7.1 กำหนดให้เจ้าของสัตว์ต้องดําเนินการจดทะเบียนสัตว์เลี้ยงและจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ของตนให้เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดซึ่งอย่างน้อยต้องมีขั้นตอนการจดทะเบียนสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สามารถติดตามสัตว์ได้ (ร่างมาตรา 16)</p>
<p> 7.2 กำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับการห้ามมิให้เจ้าของสัตว์ปล่อย ละทิ้ง หรือกระทําการใด ๆ ให้สัตว์พ้นจากการดูแลของตนหรือให้เป็นภาระของผู้อื่นโดยไม่มีเหตุอันสมควร (ร่างมาตรา 17)</p>
<p>8. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 25 มาตรา 26 และมาตรา 30) </p>
<p> 8.1 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจหน้าที่ในการยึดหรืออายัดสัตว์หรือซากของสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าถูกฆ่าหรือถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ไม่เหมาะสม รวมทั้งเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดหรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามตามพระราชบัญญัตินี้เพื่อเป็นพยานหลักฐานในการดำเนินคดี (ร่างมาตรา 18)</p>
<p> 8.2 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับคำร้องหรือเห็นว่าการให้สัตว์อยู่ในความครอบครองของเจ้าของอาจจะถูกทารุณกรรมหรือได้รับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ที่ไม่เหมาะสมอีก พนักงานเจ้าหน้าที่อาจเสนอให้ศาลพิจารณาสั่งห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้กระทำความผิดนั้นครอบครองสัตว์ดังกล่าวเป็น<br>
การชั่วคราว และมอบให้หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลที่เห็นสมควรเป็นผู้ครอบครองหรือดูแลสัตว์นั้นจนกว่าจะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่ง (ร่างมาตรา 19)</p>
<p> 8.3 กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดําเนินการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้แก่สัตว์ตามความเหมาะสมในกรณีที่พบสัตว์ถูกปล่อย ละทิ้ง หรือไม่มีเจ้าของหรือเจ้าของไม่สามารถดูแลสัตว์ได้อีกต่อไป(ร่างมาตรา 20)</p>
<p> 8.4 กำหนดให้ผู้ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (ร่างมาตรา 21)</p>
<p>9. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยบทกำหนดโทษ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 32)</p>
<p> 9. เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับในกรณีที่ศาลเห็นว่าผู้กระทำความผิดไม่มีความสามารถ ในการจัดสวัสดิภาพสัตว์ให้เหมาะสมศาลอาจสั่งห้ามผู้กระทำความผิดครอบครองสัตว์เป็นการชั่วคราวหรือโดยถาวรก็ได้ (ร่างมาตรา 22)</p>
<p>10. การกำหนดให้ผู้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติป้องกัน<br>
การทารุณกรรมและการจัดสวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. 2557 เป็นผู้ได้รับการจดทะเบียนตามมาตรา 11 และมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัตินี้ต่อไปจนกว่าจะสิ้นอายุการขึ้นทะเบียน</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 22 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=329</link>
<author><![CDATA[นายร่มธรรม ขำนุรักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจาย...]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่คลื่นความถี่ของวิทยุภาคประชาชน ที่มีการส่งกระจายเสียงประเภทใบอนุญาตประกอบกิจการบริการสาธารณะ ใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน ใบอนุญาตประกอบกิจการทางธุรกิจระดับท้องถิ่นที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ เป็นการประกอบกิจการขนาดเล็กของชุมชน ไม่สมควรที่จะนำคลื่นความถี่ออกไปประมูลเพราะจะทำให้ผู้ประกอบกิจการรายใหญ่เข้าครอบงำวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชนได้ อีกทั้งต้องการส่งเสริมให้สถานีวิทยุมีรายได้เพียงพอในการประกอบกิจการ นอกจากนี้ บทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้มีอัตราโทษที่สูงเกินสมควร ไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชน และวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ เนื่องจากเป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กรัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ มีรายได้น้อย จึงสมควรแก้ไขให้เกิดความเหมาะสมเป็นธรรม และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในการมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารระดับท้องถิ่น และใช้บริการวิทยุภาคประชาชนในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น และส่งเสริมวิทยุภาคประชาชน วิทยุกิจการบริการชุมชนให้สามารถประกอบกิจการอยู่ได้ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 20 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=328</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานี และบทกำหนดโทษทางปกครองที่กำหนดไว้อัตราโทษที่สูงไม่สอดคล้องและไม่เหมาะสมกับวิทยุภาคประชาชนและวิทยุกิจการบริการชุมชน หรือวิทยุที่มีกำลังส่งต่ำกว่าหนึ่งกิโลวัตต์ ที่เป็นผู้ประกอบกิจการขนาดเล็กมีรายได้น้อย รัศมีการส่งกระจายเสียงไปในระยะใกล้ สมควรกำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน สามารถมีรายได้จากการบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่นเท่าที่จำเป็นเพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้นการแสวงหากำไร และกำหนดโทษทางปกครองที่เหมาะสมสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ โดยร่างพระราชบัญญัติมีสาระสำคัญ ดังนี้</p>
<p> 1. กำหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชนสามารถมีรายได้จาก<br>
การบริจาค การอุดหนุนสถานี หรือรายได้อื่น เพื่อให้เพียงพอต่อการบริหารจัดการสถานีโดยไม่เน้น<br>
การแสวงหากำไร (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 21)</p>
<p> 2. กำหนดการลงโทษสำหรับผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงที่ส่งกระจายเสียงด้วยกำลังส่งไม่เกินหนึ่งกิโลวัตต์ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 61)<br>
<br>
</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 19 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=327</link>
<author><![CDATA[นายอดิศร เพียงเกษ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. .... ฉบับนี้ เสนอแก้ไขเนื่องจากพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 มีบทบัญญัติบางมาตราที่อาจจะขัดต่อหลักการของอนุสัญญาประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก หรือหลักสิทธิมนุษยชนและรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในประเด็นเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินและสิทธิในการประกอบอาชีพของประชาชน การเลือกปฏิบัติ ขาดความเสมอภาค และบังคับใช้กฎหมายโดยไม่เท่าเทียมกัน รวมทั้งมีบทกำหนดโทษที่ไม่เป็นธรรม ซ้ำช้อน และไม่ได้สัดส่วนกับการลงโทษในความผิดทั่วไป จึงแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเนื่องมาจากการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว รวมทั้งบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนและชาวประมงผู้ประกอบอาชีพโดยสุจริตให้ได้รับความเป็นธรรม ตลอดจนส่งเสริมการทำประมงให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศและเกิดประโยชน์สูงสุด การจัดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบและพิจารณาลงโทษและคณะกรรมการมาตรการทางปกครองในการพิจารณาออกคำสั่งตามระดับความรุนแรงของการกระทำความผิด สภาพการกระทำความผิดซ้ำ ตลอดจนกำหนดโทษทางปกครองและโทษทางอาญาที่เหมาะสม เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพและป้องกันการกระทำผิด</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 08 Nov 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=326</link>
<author><![CDATA[นายคอซีย์ มามุ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
TonyRL
reviewed
Jan 18, 2024
…tpcc/RSSHub-ThaiDOL into feat/thai-parliament-section77
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Mon, 29 Jan 2024 11:45:57 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงวัยเต็มตัว เป็นวิกฤตโครงสร้างประชากรไทยที่จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ในขณะที่จำนวนวัยแรงงานลดลง คาดว่าในปี 2580 จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มถึง 30% ของจำนวนประชากรทั้งหมดหรือ ประมาณ 19.8 ล้านคน ปัจจุบันมีผู้สูงอายุยากจนถึง 1.19 ล้านคน การระบาดของโควิด-19 ที่ผ่านมาพบว่าผู้สูงอายุกว่า 38% ต้องพึ่งพิงรายได้จากลูกหลาน รองลงมา 19% พึ่งเบี้ยยังชีพจากรัฐ ส่วนคนที่ได้รับบำนาญมีเพียง 8% โดยมีผู้สูงอายุ 36% สูญเสียรายได้จากการขาดอาชีพ ทำให้สัดส่วนการทำงานลดลงและต้องพึ่งเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นถึง 40% และมีเพียงข้าราชการเกษียณที่มีบำนาญจากงบประมาณรัฐ ส่วนลูกจ้างของสถานประกอบการมีบำนาญที่มาจากการสะสมร่วมกันของลูกจ้างและนายจ้างในระบบประกันสังคมไม่เพียงเท่านั้น สำนักงานสถิติแห่งชาติสำรวจผู้ทำงานในปี 2561 มีจำนวน 38.3 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นแรงงานนอกระบบคือไม่มีหลักประกันสังคมใด ๆ 55% หรือจำนวน 21.2 ล้านคน ซึ่งคือคนทำงานที่มีการศึกษาไม่ในภาคการเกษตร คนเหล่านี้ย่อมไม่มีรายได้เพียงพอสะสมเพื่อไว้ใช้เป็นบำนาญเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ทำให้ประเทศไทยเผชิญปัญหาการเข้าสู่สังคมสูงวัยโดยที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีบำนาญเป็นหลักประกันรายได้รายเดือนที่เพียงพอ การแก้ปัญหาโดยการจ่ายเบี้ยยังชีพรายเดือนให้ผู้สูงอายุเป็นเพียงการประทังปัญหาเมื่อปลายเหตุและเป็นการแก้ปัญหาเชิงสงเคราะห์ ในขณะที่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นสิทธิของผู้สูงอายุที่รัฐต้องรับรองสิทธิและพึงจัดการให้ได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมตามศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทในการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนผู้สูงอายุในเรื่องต่าง ๆ ให้เพิ่มขึ้น อันเป็นผลสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในหมวด ๆ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 48 วรรคสอง บัญญัติรองรับสิทธิของบุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ และหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 71 ได้บัญญัติให้รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และด้อยโอกาสให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ อำนาจหน้าที่ของกรรมการนโยบายกองทุนบำนาญ การเปลี่ยนแปลงสิทธิของผู้สูงอายุจากสิทธิที่ได้รับเบี้ยยังชีพเป็นสิทธิได้รับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติถ้วนหน้า เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ จ่ายเป็นรายเดือนอย่างสม่ำเสมอตลอดช่วงชีวิตของผู้สูงอายุที่ไม่น้อยกว่าระดับรายได้ตามเส้นแบ่งความยากจนที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ รัฐบาลได้มีนโยบายและมาตรการในการจ่ายเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่ต่ำกว่าระดับรายได้ตามเส้นความยากจนซึ่งไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตให้มีคุณภาพได้ และเนื่องจากกองทุนผู้สูงอายุตามกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุในปัจจุบันมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนจ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม การสนับสนุนและการจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการจัดระบบการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติอย่างถ้วนหน้า จึงสมควรเพิ่มบทบัญญัติเรื่องการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้ที่เพียงพอแก่การดำเนินชีวิตตามหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และให้พิจารณาอัตราการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติแก่ผู้มีอายุหกสิบปีขึ้นไปทุกคนตามเส้นความยากจนของประเทศในทุก ๆ สามปี และบทบัญญัติว่าด้วยการมีกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ รวมทั้งกำหนดที่มาของเงินเข้ากองทุนบำนาญให้มีรายได้จากเงินบำรุงตามกฎหมายต่าง ๆ รวมทั้งมีรายได้อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1) ซื่อกฎหมาย เปลี่ยนชื่อเป็น "พระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …." (มาตรา 1 และมาตรา 3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2) กำหนดนิยามศัพท์ "ผู้สูงอายุ" "กองทุนบำนาญ" "คณะกรรมการนโยบาย" และ"สำนักงาน" (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3) กำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นหนึ่งชุดชื่อ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" ประกอบไปด้วยหน่วยราชการ เอกชนและภาคประซาชน ผู้ทรงคุณวุฒิในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อกำหนดนโยบายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรมและยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจ และสังคม ให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่มรวมถึงผู้เสียภาษีให้รัฐทั้งทางตรงทางอ้อม (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4) กำหนดให้ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีอำนาจหน้าที่กำหนดนโยบายการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรม ยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจและสังคม กำหนดระเบียบหลักเกณฑ์ จัดทำบัญชีรายชื่อ รวมทั้งการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (มาตรา 7)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าและดำเนินการจัดทำทะเบียนรายชื่อผู้สูงอายุที่มีอายุครบหกสิบปีขึ้นไปเพื่อรับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติกำหนดในระเบียบ และให้หมายความรวมถึงการได้รับมอบหมายจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติในกรณีไม่สามารถโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของผู้มีสิทธิด้วย รวมทั้งกำหนดให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จัดทำงบประมาณประจำปีเพื่อจ่ายบำนาญพื้นฐาน (มาตรา 8)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6) แก้ไขข้อความใน (3) ของมาตรา 9 และ (12) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ดังนี้ "(3) พิจารณาให้การสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ และการพัฒนาผู้สูงอายุ" และ "(12) การจัดสวัสดิการในการจัดการศพตามประเพณี" ทั้งนี้เพื่อเป็นการกำหนดให้กฎหมายมีถ้อยความที่ส่งเสริมคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน โดยการยกเลิกคำว่า "สงเคราะห์" ที่มีความหมายในเชิงลบและอาจด้อยค่าศักดิ์ศรีของผู้รับ ให้เป็นคำว่า "การจัดสวัสดิการ" แทน (มาตรา 6 และมาตรา 10)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7) ยกเลิกความใน (11) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 เป็น "(11) การจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเป็นรายเดือนเพื่อเป็นหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุตามอัตราที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นขอบ ทั้งนี้ ควรมีอัตราไม่ต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจนตามที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในปีก่อนจ่ายด้วย และให้มีการศึกษาเพื่อปรับปรุงอัตราการจ่ายทุกสามปี" เพื่อกำหนดอัตราบำนาญพื้นฐานแห่งชาติสำหรับทุกคนเมื่ออายุหกสิบปี ให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ โดยให้อ้างอิงจากประกาศเส้นความยากจนของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทั้งนี้ สามารถเริ่มต้นจากการปรับเปลี่ยนการรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่จ่ายจากงบประมาณให้กับผู้สูงอายุทุกคนมาเป็นบำนาญพื้นฐานแห่งชาติตามกฎหมายนี้ (มาตรา 9)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8) กำหนดให้มีการจัดตั้งกองทุนขึ้นอยู่ภายใต้กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรียกว่า "กองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีวัตถุประสงค์เฉพาะให้เป็นแหล่งเงินทุนสำหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ โดยมีการบริหารจัดการกองทุนที่แยกต่างหากจาก"กองทุนผู้สูงอายุ" ตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม โดยจัดตั้งสำนักงานขึ้นภายในกรมกิจการผู้สูงอายุ สำนักงานมีอำนาจหน้าที่จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิได้รับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ การจัดทำงบประมาณบำนาญพื้นฐานแห่งชาติรายปี บริหารจัดการระบบการจ่ายบำนาญ จัดทำรายงาน และงานธุรการอื่น ๆ รวมถึงกำหนดเกณฑ์สรรหาและระเบียบการเพิ่มผู้ปฏิบัติงานของสำนักงานที่กำหนดโดยคณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ กรณีที่คณะกรรมการมิได้กำหนดระเบียบ เกณฑ์ เงื่อนไข ให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการมาใช้โดยอนุโลม (มาตรา 11)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9) กำหนดแหล่งที่มารายได้ของกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ เนื่องจากการจัดทำระบบบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้ครอบคลุมผู้สูงอายุหกสิบปีขึ้นไปแบบถ้วนหน้าที่เพียงพอ โดยใช้อัตราเส้นความยากจนที่กำหนดโดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำเป็นต้องใช้งบประมาณเพิ่มจากการจ่ายเป็นเบี้ยยังชีพตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม เพื่อให้กองทุนบำนาญมีความยั่งยืนและมีรายได้ต่อเนื่องจึงได้กำหนดให้เพิ่มที่มาของรายได้เพื่อสมทบเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยกำหนดแหล่งที่มาของรายได้จากหน่วยงานจัดเก็บของรัฐตามที่กำหนดไว้ในร่างกฎหมายฉบับนี้ กำหนดหลักเกณฑ์ อัตราการเรียกเก็บจากหน่วยจัดเก็บ รวมทั้งกำหนดบทลงโทษ กรณีที่การจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติล่าช้า (มาตรา 12 และมาตรา 13)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10) แก้ไขเพิ่มเติมกรณีผู้บริจาคเงินเข้ากองทุนและกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ ให้มีสิทธินำเงินบริจาคไปคำนวณลดหย่อนภาษีเงิน่ได้ หรือได้รับการยกเว้นภาษีสำหรับทรัพย์สินที่บริจาค รวมทั้งกำหนดการแสดงแบบรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปีต่อกรมสรรพากร (มาตรา 14)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11) กำหนดให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญแห่งชาติ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุเป็นรองประธานผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนกรมบัญชีกลาง และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนห้าคน โดยในจำนวนนี้ต้องเป็นผู้แทนองค์กรของผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้เชี่ยวชาญด้านระดมทุนหนึ่งคน เป็นกรรมการ และให้ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยใช้กฎ ระเบียบเกณฑ์ การดำรงตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการแต่งตั้งอนุกรรมการ หรือกรรมการบริหารตามบทบัญญัติตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 และมาตรา 8 มาใช้ในกฎหมายนี้ (มาตรา 16 และมาตรา 17)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 12) กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ประกอบด้วยการพิจารณากลั่นกรองแผนโครงการ ประมาณการวงเงินของกองทุนบำนาญ การลงทุน จัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุนบำนาญ โดยการนำเงินกองทุนบำนาญบางส่วนไปลงทุนเพื่อจัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุน ทั้งการลงทุนเองหรือมอบหมายให้สถาบันทางการเงินหรือนิติบุคคลอื่นไปดำเนินการแทนได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไซที่กรรมการกำหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ให้คณะกรรมการกำหนดการใช้เกณฑ์และวิธีการจ่ายเบี้ยประชุม และค่าตอบแทนอื่นตามความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (มาตรา 18)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 13) ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกประกาศหรือระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงดังกล่าว (มาตรา 24)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 14) กำหนดให้ระยะเริ่มแรกในการดำเนินการของกฎหมายนี้ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาปรับอัตราการรับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติของผู้สูงอายุให้เพิ่มขึ้น โดยให้มีอัตราที่ใกล้เคียงกับเส้นแบ่งความยากจนตามที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำหนด โดยให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในสามปีนับจากวันที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ และกำหนดให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</link>
<author><![CDATA[นายนิมิตร์ เทียนอุดม กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 42,445 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติรับรองให้บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน รวมถึงการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลด้วยเหตุความเชื่อทางศาสนาอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุอื่นใด จะกระทำมิได้ แม้ในปัจจุบันการส่งเสริมการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้น แต่กฎหมายที่ใช้บังคับในปัจจุบันมีเพียงพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 อันเป็นกฎหมายเพียงฉบับเดียวที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ที่มีการใช้บังคับกันมาอย่างยาวนาน ซึ่งยังปรากฎปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในหลายประเด็น อาทิ สภาพการบังคับใช้ในประเทศไทยไม่ได้บังคับใช้กฎหมายอิสลามกับมุสลิมทั่วทั้งประเทศ แต่ให้ใช้บังคับในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล เท่านั้น สมควรที่จะต้องสร้างความเชื่อมั่นระหว่างรัฐกับประชาชน เพื่อให้บุคคลเสมอกันในกฎหมายและไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม รวมถึงทำให้บุคคลผู้นับถือศาสนาอิสลามสามารถเข้าถึงความยุติธรรมและทำให้สังคมมีความมั่นคงปลอดภัย สอดคล้องกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้กำหนดสาระสำคัญให้ยกเลิกให้พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 และมีการกำหนดบทนิยามคำว่า “มุสลิม” “ศาล” และ“ดะโต๊ะยุติธรรม” พร้อมทั้งกำหนดให้การพิจารณาพิพากษาและวินิจฉัยชี้ขาดคดีแพ่งเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก รวมถึงสภาพและสิทธิของบุคคลอื่นเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก ซึ่งมุสลิมเป็นคู่ความในขณะมูลคดีเกิด หรือมุสลิมเป็นผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท หรือในคดีที่เกี่ยวกับมรดกในกรณีที่เจ้ามรดกเป็นมุสลิม ให้ใช้บังคับตามหลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก และกำหนดให้มีองค์คณะคดีครอบครัวและมรดกอิสลามในศาลแพ่ง ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลจังหวัด และศาลฎีกา และมีการกำหนดกระบวนการพิจารณาคดี ไว้เป็นการเฉพาะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</link>
<author><![CDATA[นายกมลศักดิ์ ลีวาเมาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ด้วยพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 ให้อำนาจแก่สภาทหารผ่านศึกในการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการให้การสงเคราะห์แก่ทหารผ่านศึก ครอบครัวทหารผ่านศึก และทหารผ่านศึกนอกประจำการ ซึ่งอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 เพื่อตราข้อบังคับสภาทหารผ่านศึกว่าด้วยการสงเคราะห์ ซึ่งใช้บังคับในปัจจุบันไม่ได้กำหนดให้ทหารผ่านศึกนอกประจำการ บัตรชั้นที่ 2 บัตรชั้นที่ 3 และบัตรชั้นที่ 4 มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็น</span><span style="color:black">ค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือนแต่อย่างใด ประกอบกับทหารผ่านศึกนอกประจำการดังกล่าว ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 298,026 คน ได้พ้นหน้าที่จากการรับใช้ประเทศชาติแล้วมีความเป็นอยู่ที่ยากจนข้นแค้นและยากลำบาก แม้จะได้รับการสงเคราะห์ในด้านอื่น ๆ จากองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกบ้างแล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพในสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ดังนั้น จึงสมควรกำหนดให้มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็นค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือน รวมถึงสิทธิประโยชน์อื่นใด ในอัตราที่คำนึงถึงความจำเป็นและความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพตามสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อความเป็นธรรมและผดุงเกียรติแก่ทหารผ่านศึกนอกประจำการผู้ซึ่งเคยปฏิบัติหน้าที่การสงครามหรือในการรบหรือป้องกันหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักรไม่ว่าในหรือภายนอกราชอาณาจักร</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ทั้งนี้ จึงจำเป็นต้องยกร่างพระราชบัญญัตินี้ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 ของพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</link>
<author><![CDATA[นายอนุลักษณ์ ชอบสะอาด กับผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 11,444 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติสร้างเสริมสังคมสันติสุข พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> โดยที่ตลอดระยะเวลาสิบกว่าปีที่ผ่านมา สังคมไทยเกิดการแตกแยกความคิดทางการเมือง มีการชุมนุมทางการเมืองต่อต้านรัฐบาลอย่างต่อเนื่องหลากหลายรูปแบบ ผู้ร่วมชุมนุมจำนวนมากถูกดำเนินคดีทั้งทางแพ่งและอาญา ก่อให้เกิดปัญหาที่ร้าวลึกลงสู่สังคมไทยทุกระดับ สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อประเทศชาติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและวัฒนธรรม แม้ว่าการกระทำต่าง ๆ ของผู้ร่วมชุมนุมและประชาชน ล้วนแต่ได้กระทำไปเพื่อแสดงออกทางความคิดเห็นทางการเมือง เป็นการใช้สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ จึงสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการสร้างเสริมสังคมสันติสุข เพื่อนิรโทษกรรมแก่ประชาชนทุกกลุ่มที่ได้กระทำผิดจากการชุมนุมทางการเมืองและจากการแสดงออกทางการเมือง เป็นการให้โอกาสกับประชาชนในการแสดงออกทางการเมือง ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย และรักษาคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ซึ่งจะส่งผลต่อการสร้างเสริมสังคมสันติสุข ลดความขัดแย้ง และสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ เพื่อร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาประเทศให้มีความเจริญยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ ความผิดที่จะได้นิรโทษกรรม คือ ความผิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2549 – 30 พฤศจิกายน 2565 ในฐานความผิด ดังต่อไปนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (1) ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา 113 (1) หรือ (2) มาตรา 114 (เฉพาะการตระเตรียมการอื่นใด หรือสมทบกันเพื่อเป็นกบฏ) มาตรา 116 และมาตรา 117</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (2) ความผิดเกี่ยวกับก่อการร้าย ตามมาตรา 135/1 (2) หรือ (3) มาตรา 135/2 และมาตรา 135/3</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (3) ความผิดต่อเจ้าพนักงาน ตามมาตรา 136 มาตรา 138 และมาตรา 139</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (4) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามมาตรา 209 วรรคหนึ่ง มาตรา 210 ถึงมาตรา 214 มาตรา 215 วรรคหนึ่ง และมาตรา 216</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (5) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามมาตรา 217 ถึงมาตรา 220 มาตรา 225 และมาตรา 226</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (6) ความผิดต่อร่างกาย ตามมาตรา 295 มาตรา 299 และมาตรา 300</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (7) ความผิดต่อเสรีภาพ ตามมาตรา 309 วรรคหนึ่งและวรรคสาม มาตรา 310 วรรคหนึ่ง มาตรา 310 ทวิ และมาตรา 311 วรรคหนึ่ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (8) ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามมาตรา 358 และมาตรา 359 (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (9) ความผิดฐานบุกรุก ตามมาตรา 362 มาตรา 364 และมาตรา 365 (1) หรือ (2) โดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป หรือ (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 30 และมาตรา 31</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</link>
<author><![CDATA[นายปรีดา บุญเพลิง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ.....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ..... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ดังนี้</p>
<p> 1. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดแบบและข้อความของกรมธรรม์ที่ผู้เอาประกันภัยไม่รับเงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หรือรับกรมธรรม์ใช้เงินสำเร็จจากผู้รับประกันภัยได้ (เพิ่มมาตรา 29/1)</p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยกรณีที่เป็นการประกันภัยแบบกลุ่มหรือการประกันภัยในลักษณะเดียวกันหรือเป็นการประกันภัยแบบอื่นที่นายทะเบียนอนุญาตได้ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 30)</p>
<p> 3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ประกันภัย (แก้ไขเพิ่มเติมหมวด 4/1 นักคณิตศาสตร์ประกันภัย)</p>
<p> โดยที่ปัจจุบันบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ในส่วนที่เกี่ยวกับ<br>
การควบคุมบริษัทในการกำหนดแบบและข้อความ และอัตราเบี้ยประกันภัยในกรมธรรม์ประกันภัย<br>
ไม่เหมาะสมแก่การประกอบธุรกิจประกันภัย จำกัดทางเลือกผู้เอาประกันภัยในการจัดการเบี้ยประกันภัยเกินจำเป็น สมควรแก้เพิ่มเติมให้การประกอบธุรกิจประกันภัยมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และเพิ่มมาตรการคุ้มครองผู้เอาประกันภัย รวมทั้งยกระดับนักคณิตศาสตร์ประกันภัยผู้มีบทบาทสำคัญในธุรกิจประกันภัยให้มีศักยภาพสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><u>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</u></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</link>
<author><![CDATA[นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัตินี้เป็นการเสนอกฎหมายเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางเพศ โดยมีหลักการแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” และแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกเหตุฉกรรจ์ของความผิดฐานอนาจาร และกำหนดความผิดฐานคุกคามทางเพศเป็นความผิดฐานใหม่ ทั้งนี้ มีเหตุผลเนื่องจากในปัจจุบันมีการกระทำผิดทางเพศในหลายรูปแบบและเป็นการกระทำต่อบุคคลทุกวัย ทุกเพศ รวมถึงผู้มีความหลากหลายทางเพศ อันเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ถูกกระทำ ดังนั้น จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” เพื่อให้ครอบคลุมถึงการกระทำความผิดในพฤติการณ์ต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายและเนื่องจากในปัจจุบันปัญหาการคุกคามทางเพศมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ซึ่งกฎหมายที่มีการกำหนดให้การกระทำในลักษณะดังกล่าวมีความผิดนั้น มีเพียงความผิดฐานก่อความเดือดร้อนรำคาญซึ่งเป็นความผิดฐานลหุโทษและยังไม่ตรงกับลักษณะของการกระทำที่เป็นการคุกคามทางเพศโดยตรง สมควรกำหนดให้การคุกคามทางเพศเป็นความผิดทางอาญา เพื่อเป็นการลงโทษผู้กระทำความผิดและปรามมิให้เกิดการกระทำความผิดขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัติ</p>
<p> </p>
<p>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</link>
<author><![CDATA[นายอนุทิน ชาญวีรกูล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. .... เสนอเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ โดยยกระดับคณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ (Fruit Board) ซึ่งตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. 2550 ให้เป็นการดำเนินการในกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ โดยกำหนดให้มีตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นรองประธาน กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง กรรมการผู้แทนเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับผลไม้ไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยให้มีหน้าที่และอำนาจในการกำหนดชนิด ประเภทของผลไม้ไทยให้เป็นผลไม้เศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ</p>
<p> กำหนดให้มีการตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ ช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการ สถาบันเกษตรกรและเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้ไทย โดยให้กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยธุรการของกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p> นอกจากนี้ยังกำหนดให้หน่วยงานของรัฐที่มีการดำเนินการเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ต้องให้ความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</link>
<author><![CDATA[นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบัน ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้ซื้อที่ดินจัดสรร ตลอดจนยังขาดหน่วยงานและมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรหรือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จากการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่ บำรุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน และการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรหรือการอุทิศทรัพย์สินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งประชาชนโดยทั่วไปใช้สอยร่วมกัน กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะในที่ดินจัดสรร รวมถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด เพื่อคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรมิให้ได้รับผลกระทบจากการที่ผู้จัดสรรที่ดินละเลยหรือทอดทิ้ง ไม่บำรุงรักษาสาธารณูปโภค จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ </strong>ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 03 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</link>
<author><![CDATA[นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่ปัจจุบันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองว่ามีสิทธิทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนนั้น มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งพบว่าการลงโทษนั้น หลายกรณีกลับกลายเป็นการกระทำในลักษณะทารุณกรรมหรือทำร้ายอันส่งผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจของบุตร เป็นการเฆี่ยนตีบุตร หรือทำโทษด้วยวิธีการอื่นอันเป็นการด้อยค่า ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบุตร และไม่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดหรือพฤติกรรมของบุตรที่จำเป็นต้องว่ากล่าวสั่งสอน ประกอบกับการปรับแก้ไขสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองในการทำโทษบุตรนี้ เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคี ข้อเสนอแนะทั่วไป ฉบับที่ 8 (ค.ศ. 2006) (General Comment No. 8 (2006) The Right of the Child of Protection from Corporal Punishment and other Cruel or Degrading Forms of Punishment) ที่ออกตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และประเทศไทยได้ตอบรับและให้คำมั่นโดยสมัครใจที่จะปฏิบัติตามภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563) อีกด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 18 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</link>
<author><![CDATA[นายณัฐวุฒิ บัวประทุม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Mon, 29 Jan 2024 11:55:12 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงวัยเต็มตัว เป็นวิกฤตโครงสร้างประชากรไทยที่จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ในขณะที่จำนวนวัยแรงงานลดลง คาดว่าในปี 2580 จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มถึง 30% ของจำนวนประชากรทั้งหมดหรือ ประมาณ 19.8 ล้านคน ปัจจุบันมีผู้สูงอายุยากจนถึง 1.19 ล้านคน การระบาดของโควิด-19 ที่ผ่านมาพบว่าผู้สูงอายุกว่า 38% ต้องพึ่งพิงรายได้จากลูกหลาน รองลงมา 19% พึ่งเบี้ยยังชีพจากรัฐ ส่วนคนที่ได้รับบำนาญมีเพียง 8% โดยมีผู้สูงอายุ 36% สูญเสียรายได้จากการขาดอาชีพ ทำให้สัดส่วนการทำงานลดลงและต้องพึ่งเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นถึง 40% และมีเพียงข้าราชการเกษียณที่มีบำนาญจากงบประมาณรัฐ ส่วนลูกจ้างของสถานประกอบการมีบำนาญที่มาจากการสะสมร่วมกันของลูกจ้างและนายจ้างในระบบประกันสังคมไม่เพียงเท่านั้น สำนักงานสถิติแห่งชาติสำรวจผู้ทำงานในปี 2561 มีจำนวน 38.3 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นแรงงานนอกระบบคือไม่มีหลักประกันสังคมใด ๆ 55% หรือจำนวน 21.2 ล้านคน ซึ่งคือคนทำงานที่มีการศึกษาไม่ในภาคการเกษตร คนเหล่านี้ย่อมไม่มีรายได้เพียงพอสะสมเพื่อไว้ใช้เป็นบำนาญเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ทำให้ประเทศไทยเผชิญปัญหาการเข้าสู่สังคมสูงวัยโดยที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีบำนาญเป็นหลักประกันรายได้รายเดือนที่เพียงพอ การแก้ปัญหาโดยการจ่ายเบี้ยยังชีพรายเดือนให้ผู้สูงอายุเป็นเพียงการประทังปัญหาเมื่อปลายเหตุและเป็นการแก้ปัญหาเชิงสงเคราะห์ ในขณะที่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นสิทธิของผู้สูงอายุที่รัฐต้องรับรองสิทธิและพึงจัดการให้ได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมตามศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทในการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนผู้สูงอายุในเรื่องต่าง ๆ ให้เพิ่มขึ้น อันเป็นผลสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในหมวด ๆ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 48 วรรคสอง บัญญัติรองรับสิทธิของบุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ และหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 71 ได้บัญญัติให้รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และด้อยโอกาสให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ อำนาจหน้าที่ของกรรมการนโยบายกองทุนบำนาญ การเปลี่ยนแปลงสิทธิของผู้สูงอายุจากสิทธิที่ได้รับเบี้ยยังชีพเป็นสิทธิได้รับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติถ้วนหน้า เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ จ่ายเป็นรายเดือนอย่างสม่ำเสมอตลอดช่วงชีวิตของผู้สูงอายุที่ไม่น้อยกว่าระดับรายได้ตามเส้นแบ่งความยากจนที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ รัฐบาลได้มีนโยบายและมาตรการในการจ่ายเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่ต่ำกว่าระดับรายได้ตามเส้นความยากจนซึ่งไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตให้มีคุณภาพได้ และเนื่องจากกองทุนผู้สูงอายุตามกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุในปัจจุบันมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนจ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม การสนับสนุนและการจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการจัดระบบการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติอย่างถ้วนหน้า จึงสมควรเพิ่มบทบัญญัติเรื่องการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้ที่เพียงพอแก่การดำเนินชีวิตตามหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และให้พิจารณาอัตราการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติแก่ผู้มีอายุหกสิบปีขึ้นไปทุกคนตามเส้นความยากจนของประเทศในทุก ๆ สามปี และบทบัญญัติว่าด้วยการมีกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ รวมทั้งกำหนดที่มาของเงินเข้ากองทุนบำนาญให้มีรายได้จากเงินบำรุงตามกฎหมายต่าง ๆ รวมทั้งมีรายได้อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1) ซื่อกฎหมาย เปลี่ยนชื่อเป็น "พระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …." (มาตรา 1 และมาตรา 3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2) กำหนดนิยามศัพท์ "ผู้สูงอายุ" "กองทุนบำนาญ" "คณะกรรมการนโยบาย" และ"สำนักงาน" (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3) กำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นหนึ่งชุดชื่อ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" ประกอบไปด้วยหน่วยราชการ เอกชนและภาคประซาชน ผู้ทรงคุณวุฒิในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อกำหนดนโยบายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรมและยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจ และสังคม ให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่มรวมถึงผู้เสียภาษีให้รัฐทั้งทางตรงทางอ้อม (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4) กำหนดให้ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีอำนาจหน้าที่กำหนดนโยบายการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรม ยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจและสังคม กำหนดระเบียบหลักเกณฑ์ จัดทำบัญชีรายชื่อ รวมทั้งการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (มาตรา 7)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าและดำเนินการจัดทำทะเบียนรายชื่อผู้สูงอายุที่มีอายุครบหกสิบปีขึ้นไปเพื่อรับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติกำหนดในระเบียบ และให้หมายความรวมถึงการได้รับมอบหมายจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติในกรณีไม่สามารถโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของผู้มีสิทธิด้วย รวมทั้งกำหนดให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จัดทำงบประมาณประจำปีเพื่อจ่ายบำนาญพื้นฐาน (มาตรา 8)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6) แก้ไขข้อความใน (3) ของมาตรา 9 และ (12) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ดังนี้ "(3) พิจารณาให้การสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ และการพัฒนาผู้สูงอายุ" และ "(12) การจัดสวัสดิการในการจัดการศพตามประเพณี" ทั้งนี้เพื่อเป็นการกำหนดให้กฎหมายมีถ้อยความที่ส่งเสริมคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน โดยการยกเลิกคำว่า "สงเคราะห์" ที่มีความหมายในเชิงลบและอาจด้อยค่าศักดิ์ศรีของผู้รับ ให้เป็นคำว่า "การจัดสวัสดิการ" แทน (มาตรา 6 และมาตรา 10)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7) ยกเลิกความใน (11) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 เป็น "(11) การจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเป็นรายเดือนเพื่อเป็นหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุตามอัตราที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นขอบ ทั้งนี้ ควรมีอัตราไม่ต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจนตามที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในปีก่อนจ่ายด้วย และให้มีการศึกษาเพื่อปรับปรุงอัตราการจ่ายทุกสามปี" เพื่อกำหนดอัตราบำนาญพื้นฐานแห่งชาติสำหรับทุกคนเมื่ออายุหกสิบปี ให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ โดยให้อ้างอิงจากประกาศเส้นความยากจนของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทั้งนี้ สามารถเริ่มต้นจากการปรับเปลี่ยนการรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่จ่ายจากงบประมาณให้กับผู้สูงอายุทุกคนมาเป็นบำนาญพื้นฐานแห่งชาติตามกฎหมายนี้ (มาตรา 9)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8) กำหนดให้มีการจัดตั้งกองทุนขึ้นอยู่ภายใต้กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรียกว่า "กองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีวัตถุประสงค์เฉพาะให้เป็นแหล่งเงินทุนสำหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ โดยมีการบริหารจัดการกองทุนที่แยกต่างหากจาก"กองทุนผู้สูงอายุ" ตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม โดยจัดตั้งสำนักงานขึ้นภายในกรมกิจการผู้สูงอายุ สำนักงานมีอำนาจหน้าที่จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิได้รับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ การจัดทำงบประมาณบำนาญพื้นฐานแห่งชาติรายปี บริหารจัดการระบบการจ่ายบำนาญ จัดทำรายงาน และงานธุรการอื่น ๆ รวมถึงกำหนดเกณฑ์สรรหาและระเบียบการเพิ่มผู้ปฏิบัติงานของสำนักงานที่กำหนดโดยคณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ กรณีที่คณะกรรมการมิได้กำหนดระเบียบ เกณฑ์ เงื่อนไข ให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการมาใช้โดยอนุโลม (มาตรา 11)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9) กำหนดแหล่งที่มารายได้ของกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ เนื่องจากการจัดทำระบบบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้ครอบคลุมผู้สูงอายุหกสิบปีขึ้นไปแบบถ้วนหน้าที่เพียงพอ โดยใช้อัตราเส้นความยากจนที่กำหนดโดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำเป็นต้องใช้งบประมาณเพิ่มจากการจ่ายเป็นเบี้ยยังชีพตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม เพื่อให้กองทุนบำนาญมีความยั่งยืนและมีรายได้ต่อเนื่องจึงได้กำหนดให้เพิ่มที่มาของรายได้เพื่อสมทบเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยกำหนดแหล่งที่มาของรายได้จากหน่วยงานจัดเก็บของรัฐตามที่กำหนดไว้ในร่างกฎหมายฉบับนี้ กำหนดหลักเกณฑ์ อัตราการเรียกเก็บจากหน่วยจัดเก็บ รวมทั้งกำหนดบทลงโทษ กรณีที่การจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติล่าช้า (มาตรา 12 และมาตรา 13)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10) แก้ไขเพิ่มเติมกรณีผู้บริจาคเงินเข้ากองทุนและกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ ให้มีสิทธินำเงินบริจาคไปคำนวณลดหย่อนภาษีเงิน่ได้ หรือได้รับการยกเว้นภาษีสำหรับทรัพย์สินที่บริจาค รวมทั้งกำหนดการแสดงแบบรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปีต่อกรมสรรพากร (มาตรา 14)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11) กำหนดให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญแห่งชาติ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุเป็นรองประธานผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนกรมบัญชีกลาง และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนห้าคน โดยในจำนวนนี้ต้องเป็นผู้แทนองค์กรของผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้เชี่ยวชาญด้านระดมทุนหนึ่งคน เป็นกรรมการ และให้ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยใช้กฎ ระเบียบเกณฑ์ การดำรงตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการแต่งตั้งอนุกรรมการ หรือกรรมการบริหารตามบทบัญญัติตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 และมาตรา 8 มาใช้ในกฎหมายนี้ (มาตรา 16 และมาตรา 17)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 12) กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ประกอบด้วยการพิจารณากลั่นกรองแผนโครงการ ประมาณการวงเงินของกองทุนบำนาญ การลงทุน จัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุนบำนาญ โดยการนำเงินกองทุนบำนาญบางส่วนไปลงทุนเพื่อจัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุน ทั้งการลงทุนเองหรือมอบหมายให้สถาบันทางการเงินหรือนิติบุคคลอื่นไปดำเนินการแทนได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไซที่กรรมการกำหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ให้คณะกรรมการกำหนดการใช้เกณฑ์และวิธีการจ่ายเบี้ยประชุม และค่าตอบแทนอื่นตามความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (มาตรา 18)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 13) ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกประกาศหรือระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงดังกล่าว (มาตรา 24)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 14) กำหนดให้ระยะเริ่มแรกในการดำเนินการของกฎหมายนี้ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาปรับอัตราการรับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติของผู้สูงอายุให้เพิ่มขึ้น โดยให้มีอัตราที่ใกล้เคียงกับเส้นแบ่งความยากจนตามที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำหนด โดยให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในสามปีนับจากวันที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ และกำหนดให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</link>
<author><![CDATA[นายนิมิตร์ เทียนอุดม กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 42,445 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติรับรองให้บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน รวมถึงการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลด้วยเหตุความเชื่อทางศาสนาอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุอื่นใด จะกระทำมิได้ แม้ในปัจจุบันการส่งเสริมการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้น แต่กฎหมายที่ใช้บังคับในปัจจุบันมีเพียงพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 อันเป็นกฎหมายเพียงฉบับเดียวที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ที่มีการใช้บังคับกันมาอย่างยาวนาน ซึ่งยังปรากฎปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในหลายประเด็น อาทิ สภาพการบังคับใช้ในประเทศไทยไม่ได้บังคับใช้กฎหมายอิสลามกับมุสลิมทั่วทั้งประเทศ แต่ให้ใช้บังคับในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล เท่านั้น สมควรที่จะต้องสร้างความเชื่อมั่นระหว่างรัฐกับประชาชน เพื่อให้บุคคลเสมอกันในกฎหมายและไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม รวมถึงทำให้บุคคลผู้นับถือศาสนาอิสลามสามารถเข้าถึงความยุติธรรมและทำให้สังคมมีความมั่นคงปลอดภัย สอดคล้องกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้กำหนดสาระสำคัญให้ยกเลิกให้พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 และมีการกำหนดบทนิยามคำว่า “มุสลิม” “ศาล” และ“ดะโต๊ะยุติธรรม” พร้อมทั้งกำหนดให้การพิจารณาพิพากษาและวินิจฉัยชี้ขาดคดีแพ่งเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก รวมถึงสภาพและสิทธิของบุคคลอื่นเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก ซึ่งมุสลิมเป็นคู่ความในขณะมูลคดีเกิด หรือมุสลิมเป็นผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท หรือในคดีที่เกี่ยวกับมรดกในกรณีที่เจ้ามรดกเป็นมุสลิม ให้ใช้บังคับตามหลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก และกำหนดให้มีองค์คณะคดีครอบครัวและมรดกอิสลามในศาลแพ่ง ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลจังหวัด และศาลฎีกา และมีการกำหนดกระบวนการพิจารณาคดี ไว้เป็นการเฉพาะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</link>
<author><![CDATA[นายกมลศักดิ์ ลีวาเมาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ด้วยพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 ให้อำนาจแก่สภาทหารผ่านศึกในการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการให้การสงเคราะห์แก่ทหารผ่านศึก ครอบครัวทหารผ่านศึก และทหารผ่านศึกนอกประจำการ ซึ่งอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 เพื่อตราข้อบังคับสภาทหารผ่านศึกว่าด้วยการสงเคราะห์ ซึ่งใช้บังคับในปัจจุบันไม่ได้กำหนดให้ทหารผ่านศึกนอกประจำการ บัตรชั้นที่ 2 บัตรชั้นที่ 3 และบัตรชั้นที่ 4 มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็น</span><span style="color:black">ค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือนแต่อย่างใด ประกอบกับทหารผ่านศึกนอกประจำการดังกล่าว ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 298,026 คน ได้พ้นหน้าที่จากการรับใช้ประเทศชาติแล้วมีความเป็นอยู่ที่ยากจนข้นแค้นและยากลำบาก แม้จะได้รับการสงเคราะห์ในด้านอื่น ๆ จากองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกบ้างแล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพในสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ดังนั้น จึงสมควรกำหนดให้มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็นค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือน รวมถึงสิทธิประโยชน์อื่นใด ในอัตราที่คำนึงถึงความจำเป็นและความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพตามสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อความเป็นธรรมและผดุงเกียรติแก่ทหารผ่านศึกนอกประจำการผู้ซึ่งเคยปฏิบัติหน้าที่การสงครามหรือในการรบหรือป้องกันหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักรไม่ว่าในหรือภายนอกราชอาณาจักร</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ทั้งนี้ จึงจำเป็นต้องยกร่างพระราชบัญญัตินี้ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 ของพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</link>
<author><![CDATA[นายอนุลักษณ์ ชอบสะอาด กับผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 11,444 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติสร้างเสริมสังคมสันติสุข พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> โดยที่ตลอดระยะเวลาสิบกว่าปีที่ผ่านมา สังคมไทยเกิดการแตกแยกความคิดทางการเมือง มีการชุมนุมทางการเมืองต่อต้านรัฐบาลอย่างต่อเนื่องหลากหลายรูปแบบ ผู้ร่วมชุมนุมจำนวนมากถูกดำเนินคดีทั้งทางแพ่งและอาญา ก่อให้เกิดปัญหาที่ร้าวลึกลงสู่สังคมไทยทุกระดับ สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อประเทศชาติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและวัฒนธรรม แม้ว่าการกระทำต่าง ๆ ของผู้ร่วมชุมนุมและประชาชน ล้วนแต่ได้กระทำไปเพื่อแสดงออกทางความคิดเห็นทางการเมือง เป็นการใช้สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ จึงสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการสร้างเสริมสังคมสันติสุข เพื่อนิรโทษกรรมแก่ประชาชนทุกกลุ่มที่ได้กระทำผิดจากการชุมนุมทางการเมืองและจากการแสดงออกทางการเมือง เป็นการให้โอกาสกับประชาชนในการแสดงออกทางการเมือง ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย และรักษาคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ซึ่งจะส่งผลต่อการสร้างเสริมสังคมสันติสุข ลดความขัดแย้ง และสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ เพื่อร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาประเทศให้มีความเจริญยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ ความผิดที่จะได้นิรโทษกรรม คือ ความผิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2549 – 30 พฤศจิกายน 2565 ในฐานความผิด ดังต่อไปนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (1) ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา 113 (1) หรือ (2) มาตรา 114 (เฉพาะการตระเตรียมการอื่นใด หรือสมทบกันเพื่อเป็นกบฏ) มาตรา 116 และมาตรา 117</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (2) ความผิดเกี่ยวกับก่อการร้าย ตามมาตรา 135/1 (2) หรือ (3) มาตรา 135/2 และมาตรา 135/3</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (3) ความผิดต่อเจ้าพนักงาน ตามมาตรา 136 มาตรา 138 และมาตรา 139</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (4) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามมาตรา 209 วรรคหนึ่ง มาตรา 210 ถึงมาตรา 214 มาตรา 215 วรรคหนึ่ง และมาตรา 216</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (5) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามมาตรา 217 ถึงมาตรา 220 มาตรา 225 และมาตรา 226</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (6) ความผิดต่อร่างกาย ตามมาตรา 295 มาตรา 299 และมาตรา 300</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (7) ความผิดต่อเสรีภาพ ตามมาตรา 309 วรรคหนึ่งและวรรคสาม มาตรา 310 วรรคหนึ่ง มาตรา 310 ทวิ และมาตรา 311 วรรคหนึ่ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (8) ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามมาตรา 358 และมาตรา 359 (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (9) ความผิดฐานบุกรุก ตามมาตรา 362 มาตรา 364 และมาตรา 365 (1) หรือ (2) โดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป หรือ (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 30 และมาตรา 31</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</link>
<author><![CDATA[นายปรีดา บุญเพลิง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ.....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ..... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ดังนี้</p>
<p> 1. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดแบบและข้อความของกรมธรรม์ที่ผู้เอาประกันภัยไม่รับเงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หรือรับกรมธรรม์ใช้เงินสำเร็จจากผู้รับประกันภัยได้ (เพิ่มมาตรา 29/1)</p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยกรณีที่เป็นการประกันภัยแบบกลุ่มหรือการประกันภัยในลักษณะเดียวกันหรือเป็นการประกันภัยแบบอื่นที่นายทะเบียนอนุญาตได้ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 30)</p>
<p> 3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ประกันภัย (แก้ไขเพิ่มเติมหมวด 4/1 นักคณิตศาสตร์ประกันภัย)</p>
<p> โดยที่ปัจจุบันบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ในส่วนที่เกี่ยวกับ<br>
การควบคุมบริษัทในการกำหนดแบบและข้อความ และอัตราเบี้ยประกันภัยในกรมธรรม์ประกันภัย<br>
ไม่เหมาะสมแก่การประกอบธุรกิจประกันภัย จำกัดทางเลือกผู้เอาประกันภัยในการจัดการเบี้ยประกันภัยเกินจำเป็น สมควรแก้เพิ่มเติมให้การประกอบธุรกิจประกันภัยมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และเพิ่มมาตรการคุ้มครองผู้เอาประกันภัย รวมทั้งยกระดับนักคณิตศาสตร์ประกันภัยผู้มีบทบาทสำคัญในธุรกิจประกันภัยให้มีศักยภาพสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><u>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</u></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</link>
<author><![CDATA[นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัตินี้เป็นการเสนอกฎหมายเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางเพศ โดยมีหลักการแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” และแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกเหตุฉกรรจ์ของความผิดฐานอนาจาร และกำหนดความผิดฐานคุกคามทางเพศเป็นความผิดฐานใหม่ ทั้งนี้ มีเหตุผลเนื่องจากในปัจจุบันมีการกระทำผิดทางเพศในหลายรูปแบบและเป็นการกระทำต่อบุคคลทุกวัย ทุกเพศ รวมถึงผู้มีความหลากหลายทางเพศ อันเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ถูกกระทำ ดังนั้น จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” เพื่อให้ครอบคลุมถึงการกระทำความผิดในพฤติการณ์ต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายและเนื่องจากในปัจจุบันปัญหาการคุกคามทางเพศมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ซึ่งกฎหมายที่มีการกำหนดให้การกระทำในลักษณะดังกล่าวมีความผิดนั้น มีเพียงความผิดฐานก่อความเดือดร้อนรำคาญซึ่งเป็นความผิดฐานลหุโทษและยังไม่ตรงกับลักษณะของการกระทำที่เป็นการคุกคามทางเพศโดยตรง สมควรกำหนดให้การคุกคามทางเพศเป็นความผิดทางอาญา เพื่อเป็นการลงโทษผู้กระทำความผิดและปรามมิให้เกิดการกระทำความผิดขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัติ</p>
<p> </p>
<p>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</link>
<author><![CDATA[นายอนุทิน ชาญวีรกูล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. .... เสนอเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ โดยยกระดับคณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ (Fruit Board) ซึ่งตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. 2550 ให้เป็นการดำเนินการในกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ โดยกำหนดให้มีตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นรองประธาน กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง กรรมการผู้แทนเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับผลไม้ไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยให้มีหน้าที่และอำนาจในการกำหนดชนิด ประเภทของผลไม้ไทยให้เป็นผลไม้เศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ</p>
<p> กำหนดให้มีการตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ ช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการ สถาบันเกษตรกรและเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้ไทย โดยให้กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยธุรการของกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p> นอกจากนี้ยังกำหนดให้หน่วยงานของรัฐที่มีการดำเนินการเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ต้องให้ความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</link>
<author><![CDATA[นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบัน ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้ซื้อที่ดินจัดสรร ตลอดจนยังขาดหน่วยงานและมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรหรือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จากการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่ บำรุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน และการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรหรือการอุทิศทรัพย์สินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งประชาชนโดยทั่วไปใช้สอยร่วมกัน กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะในที่ดินจัดสรร รวมถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด เพื่อคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรมิให้ได้รับผลกระทบจากการที่ผู้จัดสรรที่ดินละเลยหรือทอดทิ้ง ไม่บำรุงรักษาสาธารณูปโภค จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ </strong>ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 03 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</link>
<author><![CDATA[นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่ปัจจุบันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองว่ามีสิทธิทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนนั้น มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งพบว่าการลงโทษนั้น หลายกรณีกลับกลายเป็นการกระทำในลักษณะทารุณกรรมหรือทำร้ายอันส่งผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจของบุตร เป็นการเฆี่ยนตีบุตร หรือทำโทษด้วยวิธีการอื่นอันเป็นการด้อยค่า ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบุตร และไม่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดหรือพฤติกรรมของบุตรที่จำเป็นต้องว่ากล่าวสั่งสอน ประกอบกับการปรับแก้ไขสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองในการทำโทษบุตรนี้ เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคี ข้อเสนอแนะทั่วไป ฉบับที่ 8 (ค.ศ. 2006) (General Comment No. 8 (2006) The Right of the Child of Protection from Corporal Punishment and other Cruel or Degrading Forms of Punishment) ที่ออกตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และประเทศไทยได้ตอบรับและให้คำมั่นโดยสมัครใจที่จะปฏิบัติตามภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563) อีกด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 18 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</link>
<author><![CDATA[นายณัฐวุฒิ บัวประทุม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Mon, 29 Jan 2024 12:04:11 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงวัยเต็มตัว เป็นวิกฤตโครงสร้างประชากรไทยที่จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ในขณะที่จำนวนวัยแรงงานลดลง คาดว่าในปี 2580 จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มถึง 30% ของจำนวนประชากรทั้งหมดหรือ ประมาณ 19.8 ล้านคน ปัจจุบันมีผู้สูงอายุยากจนถึง 1.19 ล้านคน การระบาดของโควิด-19 ที่ผ่านมาพบว่าผู้สูงอายุกว่า 38% ต้องพึ่งพิงรายได้จากลูกหลาน รองลงมา 19% พึ่งเบี้ยยังชีพจากรัฐ ส่วนคนที่ได้รับบำนาญมีเพียง 8% โดยมีผู้สูงอายุ 36% สูญเสียรายได้จากการขาดอาชีพ ทำให้สัดส่วนการทำงานลดลงและต้องพึ่งเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นถึง 40% และมีเพียงข้าราชการเกษียณที่มีบำนาญจากงบประมาณรัฐ ส่วนลูกจ้างของสถานประกอบการมีบำนาญที่มาจากการสะสมร่วมกันของลูกจ้างและนายจ้างในระบบประกันสังคมไม่เพียงเท่านั้น สำนักงานสถิติแห่งชาติสำรวจผู้ทำงานในปี 2561 มีจำนวน 38.3 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นแรงงานนอกระบบคือไม่มีหลักประกันสังคมใด ๆ 55% หรือจำนวน 21.2 ล้านคน ซึ่งคือคนทำงานที่มีการศึกษาไม่ในภาคการเกษตร คนเหล่านี้ย่อมไม่มีรายได้เพียงพอสะสมเพื่อไว้ใช้เป็นบำนาญเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ทำให้ประเทศไทยเผชิญปัญหาการเข้าสู่สังคมสูงวัยโดยที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีบำนาญเป็นหลักประกันรายได้รายเดือนที่เพียงพอ การแก้ปัญหาโดยการจ่ายเบี้ยยังชีพรายเดือนให้ผู้สูงอายุเป็นเพียงการประทังปัญหาเมื่อปลายเหตุและเป็นการแก้ปัญหาเชิงสงเคราะห์ ในขณะที่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นสิทธิของผู้สูงอายุที่รัฐต้องรับรองสิทธิและพึงจัดการให้ได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมตามศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทในการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนผู้สูงอายุในเรื่องต่าง ๆ ให้เพิ่มขึ้น อันเป็นผลสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในหมวด ๆ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 48 วรรคสอง บัญญัติรองรับสิทธิของบุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ และหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 71 ได้บัญญัติให้รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และด้อยโอกาสให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ อำนาจหน้าที่ของกรรมการนโยบายกองทุนบำนาญ การเปลี่ยนแปลงสิทธิของผู้สูงอายุจากสิทธิที่ได้รับเบี้ยยังชีพเป็นสิทธิได้รับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติถ้วนหน้า เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ จ่ายเป็นรายเดือนอย่างสม่ำเสมอตลอดช่วงชีวิตของผู้สูงอายุที่ไม่น้อยกว่าระดับรายได้ตามเส้นแบ่งความยากจนที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ รัฐบาลได้มีนโยบายและมาตรการในการจ่ายเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่ต่ำกว่าระดับรายได้ตามเส้นความยากจนซึ่งไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตให้มีคุณภาพได้ และเนื่องจากกองทุนผู้สูงอายุตามกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุในปัจจุบันมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนจ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม การสนับสนุนและการจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการจัดระบบการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติอย่างถ้วนหน้า จึงสมควรเพิ่มบทบัญญัติเรื่องการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้ที่เพียงพอแก่การดำเนินชีวิตตามหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และให้พิจารณาอัตราการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติแก่ผู้มีอายุหกสิบปีขึ้นไปทุกคนตามเส้นความยากจนของประเทศในทุก ๆ สามปี และบทบัญญัติว่าด้วยการมีกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ รวมทั้งกำหนดที่มาของเงินเข้ากองทุนบำนาญให้มีรายได้จากเงินบำรุงตามกฎหมายต่าง ๆ รวมทั้งมีรายได้อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1) ซื่อกฎหมาย เปลี่ยนชื่อเป็น "พระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …." (มาตรา 1 และมาตรา 3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2) กำหนดนิยามศัพท์ "ผู้สูงอายุ" "กองทุนบำนาญ" "คณะกรรมการนโยบาย" และ"สำนักงาน" (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3) กำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นหนึ่งชุดชื่อ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" ประกอบไปด้วยหน่วยราชการ เอกชนและภาคประซาชน ผู้ทรงคุณวุฒิในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อกำหนดนโยบายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรมและยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจ และสังคม ให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่มรวมถึงผู้เสียภาษีให้รัฐทั้งทางตรงทางอ้อม (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4) กำหนดให้ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีอำนาจหน้าที่กำหนดนโยบายการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรม ยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจและสังคม กำหนดระเบียบหลักเกณฑ์ จัดทำบัญชีรายชื่อ รวมทั้งการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (มาตรา 7)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าและดำเนินการจัดทำทะเบียนรายชื่อผู้สูงอายุที่มีอายุครบหกสิบปีขึ้นไปเพื่อรับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติกำหนดในระเบียบ และให้หมายความรวมถึงการได้รับมอบหมายจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติในกรณีไม่สามารถโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของผู้มีสิทธิด้วย รวมทั้งกำหนดให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จัดทำงบประมาณประจำปีเพื่อจ่ายบำนาญพื้นฐาน (มาตรา 8)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6) แก้ไขข้อความใน (3) ของมาตรา 9 และ (12) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ดังนี้ "(3) พิจารณาให้การสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ และการพัฒนาผู้สูงอายุ" และ "(12) การจัดสวัสดิการในการจัดการศพตามประเพณี" ทั้งนี้เพื่อเป็นการกำหนดให้กฎหมายมีถ้อยความที่ส่งเสริมคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน โดยการยกเลิกคำว่า "สงเคราะห์" ที่มีความหมายในเชิงลบและอาจด้อยค่าศักดิ์ศรีของผู้รับ ให้เป็นคำว่า "การจัดสวัสดิการ" แทน (มาตรา 6 และมาตรา 10)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7) ยกเลิกความใน (11) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 เป็น "(11) การจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเป็นรายเดือนเพื่อเป็นหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุตามอัตราที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นขอบ ทั้งนี้ ควรมีอัตราไม่ต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจนตามที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในปีก่อนจ่ายด้วย และให้มีการศึกษาเพื่อปรับปรุงอัตราการจ่ายทุกสามปี" เพื่อกำหนดอัตราบำนาญพื้นฐานแห่งชาติสำหรับทุกคนเมื่ออายุหกสิบปี ให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ โดยให้อ้างอิงจากประกาศเส้นความยากจนของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทั้งนี้ สามารถเริ่มต้นจากการปรับเปลี่ยนการรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่จ่ายจากงบประมาณให้กับผู้สูงอายุทุกคนมาเป็นบำนาญพื้นฐานแห่งชาติตามกฎหมายนี้ (มาตรา 9)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8) กำหนดให้มีการจัดตั้งกองทุนขึ้นอยู่ภายใต้กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรียกว่า "กองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีวัตถุประสงค์เฉพาะให้เป็นแหล่งเงินทุนสำหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ โดยมีการบริหารจัดการกองทุนที่แยกต่างหากจาก"กองทุนผู้สูงอายุ" ตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม โดยจัดตั้งสำนักงานขึ้นภายในกรมกิจการผู้สูงอายุ สำนักงานมีอำนาจหน้าที่จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิได้รับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ การจัดทำงบประมาณบำนาญพื้นฐานแห่งชาติรายปี บริหารจัดการระบบการจ่ายบำนาญ จัดทำรายงาน และงานธุรการอื่น ๆ รวมถึงกำหนดเกณฑ์สรรหาและระเบียบการเพิ่มผู้ปฏิบัติงานของสำนักงานที่กำหนดโดยคณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ กรณีที่คณะกรรมการมิได้กำหนดระเบียบ เกณฑ์ เงื่อนไข ให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการมาใช้โดยอนุโลม (มาตรา 11)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9) กำหนดแหล่งที่มารายได้ของกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ เนื่องจากการจัดทำระบบบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้ครอบคลุมผู้สูงอายุหกสิบปีขึ้นไปแบบถ้วนหน้าที่เพียงพอ โดยใช้อัตราเส้นความยากจนที่กำหนดโดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำเป็นต้องใช้งบประมาณเพิ่มจากการจ่ายเป็นเบี้ยยังชีพตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม เพื่อให้กองทุนบำนาญมีความยั่งยืนและมีรายได้ต่อเนื่องจึงได้กำหนดให้เพิ่มที่มาของรายได้เพื่อสมทบเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยกำหนดแหล่งที่มาของรายได้จากหน่วยงานจัดเก็บของรัฐตามที่กำหนดไว้ในร่างกฎหมายฉบับนี้ กำหนดหลักเกณฑ์ อัตราการเรียกเก็บจากหน่วยจัดเก็บ รวมทั้งกำหนดบทลงโทษ กรณีที่การจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติล่าช้า (มาตรา 12 และมาตรา 13)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10) แก้ไขเพิ่มเติมกรณีผู้บริจาคเงินเข้ากองทุนและกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ ให้มีสิทธินำเงินบริจาคไปคำนวณลดหย่อนภาษีเงิน่ได้ หรือได้รับการยกเว้นภาษีสำหรับทรัพย์สินที่บริจาค รวมทั้งกำหนดการแสดงแบบรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปีต่อกรมสรรพากร (มาตรา 14)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11) กำหนดให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญแห่งชาติ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุเป็นรองประธานผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนกรมบัญชีกลาง และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนห้าคน โดยในจำนวนนี้ต้องเป็นผู้แทนองค์กรของผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้เชี่ยวชาญด้านระดมทุนหนึ่งคน เป็นกรรมการ และให้ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยใช้กฎ ระเบียบเกณฑ์ การดำรงตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการแต่งตั้งอนุกรรมการ หรือกรรมการบริหารตามบทบัญญัติตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 และมาตรา 8 มาใช้ในกฎหมายนี้ (มาตรา 16 และมาตรา 17)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 12) กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ประกอบด้วยการพิจารณากลั่นกรองแผนโครงการ ประมาณการวงเงินของกองทุนบำนาญ การลงทุน จัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุนบำนาญ โดยการนำเงินกองทุนบำนาญบางส่วนไปลงทุนเพื่อจัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุน ทั้งการลงทุนเองหรือมอบหมายให้สถาบันทางการเงินหรือนิติบุคคลอื่นไปดำเนินการแทนได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไซที่กรรมการกำหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ให้คณะกรรมการกำหนดการใช้เกณฑ์และวิธีการจ่ายเบี้ยประชุม และค่าตอบแทนอื่นตามความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (มาตรา 18)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 13) ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกประกาศหรือระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงดังกล่าว (มาตรา 24)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 14) กำหนดให้ระยะเริ่มแรกในการดำเนินการของกฎหมายนี้ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาปรับอัตราการรับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติของผู้สูงอายุให้เพิ่มขึ้น โดยให้มีอัตราที่ใกล้เคียงกับเส้นแบ่งความยากจนตามที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำหนด โดยให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในสามปีนับจากวันที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ และกำหนดให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</link>
<author><![CDATA[นายนิมิตร์ เทียนอุดม กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 42,445 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติรับรองให้บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน รวมถึงการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลด้วยเหตุความเชื่อทางศาสนาอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุอื่นใด จะกระทำมิได้ แม้ในปัจจุบันการส่งเสริมการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้น แต่กฎหมายที่ใช้บังคับในปัจจุบันมีเพียงพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 อันเป็นกฎหมายเพียงฉบับเดียวที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ที่มีการใช้บังคับกันมาอย่างยาวนาน ซึ่งยังปรากฎปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในหลายประเด็น อาทิ สภาพการบังคับใช้ในประเทศไทยไม่ได้บังคับใช้กฎหมายอิสลามกับมุสลิมทั่วทั้งประเทศ แต่ให้ใช้บังคับในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล เท่านั้น สมควรที่จะต้องสร้างความเชื่อมั่นระหว่างรัฐกับประชาชน เพื่อให้บุคคลเสมอกันในกฎหมายและไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม รวมถึงทำให้บุคคลผู้นับถือศาสนาอิสลามสามารถเข้าถึงความยุติธรรมและทำให้สังคมมีความมั่นคงปลอดภัย สอดคล้องกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้กำหนดสาระสำคัญให้ยกเลิกให้พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 และมีการกำหนดบทนิยามคำว่า “มุสลิม” “ศาล” และ“ดะโต๊ะยุติธรรม” พร้อมทั้งกำหนดให้การพิจารณาพิพากษาและวินิจฉัยชี้ขาดคดีแพ่งเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก รวมถึงสภาพและสิทธิของบุคคลอื่นเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก ซึ่งมุสลิมเป็นคู่ความในขณะมูลคดีเกิด หรือมุสลิมเป็นผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท หรือในคดีที่เกี่ยวกับมรดกในกรณีที่เจ้ามรดกเป็นมุสลิม ให้ใช้บังคับตามหลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก และกำหนดให้มีองค์คณะคดีครอบครัวและมรดกอิสลามในศาลแพ่ง ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลจังหวัด และศาลฎีกา และมีการกำหนดกระบวนการพิจารณาคดี ไว้เป็นการเฉพาะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</link>
<author><![CDATA[นายกมลศักดิ์ ลีวาเมาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ด้วยพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 ให้อำนาจแก่สภาทหารผ่านศึกในการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการให้การสงเคราะห์แก่ทหารผ่านศึก ครอบครัวทหารผ่านศึก และทหารผ่านศึกนอกประจำการ ซึ่งอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 เพื่อตราข้อบังคับสภาทหารผ่านศึกว่าด้วยการสงเคราะห์ ซึ่งใช้บังคับในปัจจุบันไม่ได้กำหนดให้ทหารผ่านศึกนอกประจำการ บัตรชั้นที่ 2 บัตรชั้นที่ 3 และบัตรชั้นที่ 4 มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็น</span><span style="color:black">ค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือนแต่อย่างใด ประกอบกับทหารผ่านศึกนอกประจำการดังกล่าว ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 298,026 คน ได้พ้นหน้าที่จากการรับใช้ประเทศชาติแล้วมีความเป็นอยู่ที่ยากจนข้นแค้นและยากลำบาก แม้จะได้รับการสงเคราะห์ในด้านอื่น ๆ จากองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกบ้างแล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพในสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ดังนั้น จึงสมควรกำหนดให้มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็นค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือน รวมถึงสิทธิประโยชน์อื่นใด ในอัตราที่คำนึงถึงความจำเป็นและความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพตามสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อความเป็นธรรมและผดุงเกียรติแก่ทหารผ่านศึกนอกประจำการผู้ซึ่งเคยปฏิบัติหน้าที่การสงครามหรือในการรบหรือป้องกันหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักรไม่ว่าในหรือภายนอกราชอาณาจักร</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ทั้งนี้ จึงจำเป็นต้องยกร่างพระราชบัญญัตินี้ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 ของพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</link>
<author><![CDATA[นายอนุลักษณ์ ชอบสะอาด กับผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 11,444 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติสร้างเสริมสังคมสันติสุข พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> โดยที่ตลอดระยะเวลาสิบกว่าปีที่ผ่านมา สังคมไทยเกิดการแตกแยกความคิดทางการเมือง มีการชุมนุมทางการเมืองต่อต้านรัฐบาลอย่างต่อเนื่องหลากหลายรูปแบบ ผู้ร่วมชุมนุมจำนวนมากถูกดำเนินคดีทั้งทางแพ่งและอาญา ก่อให้เกิดปัญหาที่ร้าวลึกลงสู่สังคมไทยทุกระดับ สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อประเทศชาติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและวัฒนธรรม แม้ว่าการกระทำต่าง ๆ ของผู้ร่วมชุมนุมและประชาชน ล้วนแต่ได้กระทำไปเพื่อแสดงออกทางความคิดเห็นทางการเมือง เป็นการใช้สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ จึงสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการสร้างเสริมสังคมสันติสุข เพื่อนิรโทษกรรมแก่ประชาชนทุกกลุ่มที่ได้กระทำผิดจากการชุมนุมทางการเมืองและจากการแสดงออกทางการเมือง เป็นการให้โอกาสกับประชาชนในการแสดงออกทางการเมือง ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย และรักษาคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ซึ่งจะส่งผลต่อการสร้างเสริมสังคมสันติสุข ลดความขัดแย้ง และสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ เพื่อร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาประเทศให้มีความเจริญยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ ความผิดที่จะได้นิรโทษกรรม คือ ความผิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2549 – 30 พฤศจิกายน 2565 ในฐานความผิด ดังต่อไปนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (1) ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา 113 (1) หรือ (2) มาตรา 114 (เฉพาะการตระเตรียมการอื่นใด หรือสมทบกันเพื่อเป็นกบฏ) มาตรา 116 และมาตรา 117</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (2) ความผิดเกี่ยวกับก่อการร้าย ตามมาตรา 135/1 (2) หรือ (3) มาตรา 135/2 และมาตรา 135/3</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (3) ความผิดต่อเจ้าพนักงาน ตามมาตรา 136 มาตรา 138 และมาตรา 139</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (4) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามมาตรา 209 วรรคหนึ่ง มาตรา 210 ถึงมาตรา 214 มาตรา 215 วรรคหนึ่ง และมาตรา 216</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (5) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามมาตรา 217 ถึงมาตรา 220 มาตรา 225 และมาตรา 226</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (6) ความผิดต่อร่างกาย ตามมาตรา 295 มาตรา 299 และมาตรา 300</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (7) ความผิดต่อเสรีภาพ ตามมาตรา 309 วรรคหนึ่งและวรรคสาม มาตรา 310 วรรคหนึ่ง มาตรา 310 ทวิ และมาตรา 311 วรรคหนึ่ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (8) ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามมาตรา 358 และมาตรา 359 (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (9) ความผิดฐานบุกรุก ตามมาตรา 362 มาตรา 364 และมาตรา 365 (1) หรือ (2) โดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป หรือ (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 30 และมาตรา 31</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</link>
<author><![CDATA[นายปรีดา บุญเพลิง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ.....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ..... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ดังนี้</p>
<p> 1. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดแบบและข้อความของกรมธรรม์ที่ผู้เอาประกันภัยไม่รับเงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หรือรับกรมธรรม์ใช้เงินสำเร็จจากผู้รับประกันภัยได้ (เพิ่มมาตรา 29/1)</p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยกรณีที่เป็นการประกันภัยแบบกลุ่มหรือการประกันภัยในลักษณะเดียวกันหรือเป็นการประกันภัยแบบอื่นที่นายทะเบียนอนุญาตได้ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 30)</p>
<p> 3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ประกันภัย (แก้ไขเพิ่มเติมหมวด 4/1 นักคณิตศาสตร์ประกันภัย)</p>
<p> โดยที่ปัจจุบันบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ในส่วนที่เกี่ยวกับ<br>
การควบคุมบริษัทในการกำหนดแบบและข้อความ และอัตราเบี้ยประกันภัยในกรมธรรม์ประกันภัย<br>
ไม่เหมาะสมแก่การประกอบธุรกิจประกันภัย จำกัดทางเลือกผู้เอาประกันภัยในการจัดการเบี้ยประกันภัยเกินจำเป็น สมควรแก้เพิ่มเติมให้การประกอบธุรกิจประกันภัยมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และเพิ่มมาตรการคุ้มครองผู้เอาประกันภัย รวมทั้งยกระดับนักคณิตศาสตร์ประกันภัยผู้มีบทบาทสำคัญในธุรกิจประกันภัยให้มีศักยภาพสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><u>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</u></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</link>
<author><![CDATA[นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัตินี้เป็นการเสนอกฎหมายเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางเพศ โดยมีหลักการแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” และแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกเหตุฉกรรจ์ของความผิดฐานอนาจาร และกำหนดความผิดฐานคุกคามทางเพศเป็นความผิดฐานใหม่ ทั้งนี้ มีเหตุผลเนื่องจากในปัจจุบันมีการกระทำผิดทางเพศในหลายรูปแบบและเป็นการกระทำต่อบุคคลทุกวัย ทุกเพศ รวมถึงผู้มีความหลากหลายทางเพศ อันเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ถูกกระทำ ดังนั้น จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” เพื่อให้ครอบคลุมถึงการกระทำความผิดในพฤติการณ์ต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายและเนื่องจากในปัจจุบันปัญหาการคุกคามทางเพศมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ซึ่งกฎหมายที่มีการกำหนดให้การกระทำในลักษณะดังกล่าวมีความผิดนั้น มีเพียงความผิดฐานก่อความเดือดร้อนรำคาญซึ่งเป็นความผิดฐานลหุโทษและยังไม่ตรงกับลักษณะของการกระทำที่เป็นการคุกคามทางเพศโดยตรง สมควรกำหนดให้การคุกคามทางเพศเป็นความผิดทางอาญา เพื่อเป็นการลงโทษผู้กระทำความผิดและปรามมิให้เกิดการกระทำความผิดขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัติ</p>
<p> </p>
<p>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</link>
<author><![CDATA[นายอนุทิน ชาญวีรกูล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. .... เสนอเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ โดยยกระดับคณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ (Fruit Board) ซึ่งตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. 2550 ให้เป็นการดำเนินการในกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ โดยกำหนดให้มีตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นรองประธาน กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง กรรมการผู้แทนเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับผลไม้ไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยให้มีหน้าที่และอำนาจในการกำหนดชนิด ประเภทของผลไม้ไทยให้เป็นผลไม้เศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ</p>
<p> กำหนดให้มีการตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ ช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการ สถาบันเกษตรกรและเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้ไทย โดยให้กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยธุรการของกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p> นอกจากนี้ยังกำหนดให้หน่วยงานของรัฐที่มีการดำเนินการเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ต้องให้ความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</link>
<author><![CDATA[นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>โดยที่การจัดสรรที่ดินในปัจจุบัน ยังมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของผู้ซื้อที่ดินจัดสรร ตลอดจนยังขาดหน่วยงานและมาตรการในการคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรหรือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนเสียหาย จากการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม จึงสมควรกำหนดหลักเกณฑ์การพ้นจากหน้าที่ บำรุงรักษาสาธารณูปโภคของผู้จัดสรรที่ดิน และการให้ทรัพย์สินอันเป็นสาธารณูปโภคตกเป็นของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรหรือการอุทิศทรัพย์สินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ ซึ่งประชาชนโดยทั่วไปใช้สอยร่วมกัน กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่นเกี่ยวกับการบำรุงรักษาสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะในที่ดินจัดสรร รวมถึงอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด เพื่อคุ้มครองผู้ซื้อที่ดินจัดสรรมิให้ได้รับผลกระทบจากการที่ผู้จัดสรรที่ดินละเลยหรือทอดทิ้ง ไม่บำรุงรักษาสาธารณูปโภค จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ </strong>ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Wed, 03 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=335</link>
<author><![CDATA[นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่ปัจจุบันประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองว่ามีสิทธิทำโทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนนั้น มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งพบว่าการลงโทษนั้น หลายกรณีกลับกลายเป็นการกระทำในลักษณะทารุณกรรมหรือทำร้ายอันส่งผลกระทบต่อร่างกายหรือจิตใจของบุตร เป็นการเฆี่ยนตีบุตร หรือทำโทษด้วยวิธีการอื่นอันเป็นการด้อยค่า ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของบุตร และไม่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดหรือพฤติกรรมของบุตรที่จำเป็นต้องว่ากล่าวสั่งสอน ประกอบกับการปรับแก้ไขสิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครองในการทำโทษบุตรนี้ เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเป็นรัฐภาคี ข้อเสนอแนะทั่วไป ฉบับที่ 8 (ค.ศ. 2006) (General Comment No. 8 (2006) The Right of the Child of Protection from Corporal Punishment and other Cruel or Degrading Forms of Punishment) ที่ออกตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และประเทศไทยได้ตอบรับและให้คำมั่นโดยสมัครใจที่จะปฏิบัติตามภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563) อีกด้วย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 18 Dec 2023 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=334</link>
<author><![CDATA[นายณัฐวุฒิ บัวประทุม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>รายงานผล</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
TonyRL
reviewed
Jan 30, 2024
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Tue, 30 Jan 2024 14:55:08 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติกัญชา กัญชง ม่าง พ.ศ. .......]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัตินี้เสนอเพื่อให้มีกฎหมายว่าด้วยกัญชา กัญชง ม่าง เนื่องจากพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 บัญญัติให้กัญชา กัญชง ไม่เป็นยาเสพติดให้โทษอีกต่อไป แต่ยังขาดพระราชบัญญัติว่าด้วยกัญชา กัญชงเพื่อควบคุม จัดระบบ ระเบียบการปลูกการนำไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งเป็นการบัญญัติกฎหมายเพื่อควบคุมป้องกันการใช้กัญชา กัญชงและสารสกัดไปใช้ในทางที่ผิด จึงมีการตราพระราชบัญญัติฉบับนี้ขึ้น เพื่อกำหนดให้มีมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ให้นำกัญชา กัญชง และสารสกัดไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางด้านการแพทย์ การพาณิชย์ อุตสาหกรรม แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม เภสัชกรรม การนวดไทย การผดุงครรภ์ สัตวแพทย์ การเลี้ยงสัตว์ หมอพื้นบ้าน การท่องเที่ยว สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ และการใช้ประโยชน์ในครัวเรือน วิจัยและพัฒนา สร้างนวัตกรรม แปรรูป ผลิตภัณฑ์ ตลอดถึงการสร้างองค์ความรู้ บูรณาการร่วมกับแพทย์แผนปัจจุบัน ทั้งส่งเสริม สนับสนุน ควบคุมการนำเข้า ส่งออก สกัด จำหน่าย แปรรูป และกำหนดให้มีมาตรการทางกฎหมาย ควบคุมการนำกัญชา กัญชง และสารสกัด ไปใช้ในทางที่ผิด โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน สตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร และบุคคลอื่นใดที่อาจก่อให้เกิดอันตราย <br>
ทั้งควบคุม ดูแล คุ้มครองสถานที่ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลอื่น เช่น วัดและสถานปฏิบัติพิธีทาง ศาสนา หอพัก สถานศึกษา มหาวิทยาลัย สวนสาธารณะ สวนสัตว์ และสวนสนุก ในขณะเดียวกันก็ปรากฏว่าที่ผ่านมามีการนับรวมเอาพืชท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งที่มีลักษณะคล้ายกันกับกัญชา กัญชง คือ พืชม่าง รวมเข้าด้วยกันโดยไม่ได้คำนึงถึงวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์และความเป็นมา ตลอดจนความผูกพันของพืชม่างกับระบบวิถีชีวิตตามประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เป็นเหตุให้เกิดผลกระทบต่อกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง<br>
มาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น เมื่อมีการปลดล็อคกัญซา กัญชง และเพื่อเป็นการส่งเสริม และคุ้มครองพืชท้องถิ่นอื่นที่เคยถูกนับรวมเป็นกัญชา กัญชง ซึ่งเป็นการปลูกเพื่อเอาเส้นใยมาทำเป็นเส้นด้ายผลิตเสื้อผ้า และใช้ประโยชน์ในการดำรงชีพเท่านั้น แต่มิได้ถูกใช้ในการเอาสารสกัดแด่อย่างใด ให้คงมีอยู่คู่กับ<br>
วิถีชีวิตของท้องถิ่นตลอดไป</p>
<p>ดังนั้น การตราพระราชบัญญัติฉบับนี้ เมื่อมีผลปังคับใช้นำไปสู่ภาคปฏิบัติ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวซ้องต้องร่วมกันส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง สร้างองค์ความรู้ ฝึกอบรมเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ สร้างรายได้ พัฒนาคุณภาพชีวิตในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม สร้างเศรษฐกิจการเกษตรในวงกว้าง สร้างความสมดุลทางระบบนิเวศน์มีความยั่งยืนแบบครบวงจร สร้างฐานรายได้ให้เกษตรกรอยู่ดี กินดี สังคมสงบสุข สร้างความเข้มแข็งทางประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งเป็นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจระดับชาติให้สูงขึ้น</p>
<p>ร่างพระราชบัญญัตินี้กำหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายกัญชา กัญชง ม่างแห่งชาติ การกำหนดให้มีการขออนุญาตและอนุญาตแก่ผู้ประสงค์จะผลิต นำเข้า ส่งออก หรือจำหน่ายกัญชา กัญชง หรือสารสกัด การขออนุญาตเพาะปลุกกัญชา กัญชง การจดแจ้งและการรับแจ้ง การใช้ประโยชน์จากกัญชา กัญชงในครัวเรือน และการกำหนดกระบวนการพิจารณาอนุญาต การพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต หรือใบรับจดแจ้ง การกำหนดการโฆษณา การกำหนดบทบาทหน้าที่ของพนักงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการกำหนดการอุทธรณ์กรณีผู้อนุญาตหรือผู้รับจดแจ้งไม่ออกใบอนุญาต ใบรับจดแจ้ง หรือไม่อนุญาตให้ต่อใบอนุญาต หรือใบรับจดแจ้ง และกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ การกำหนดให้มีมาตรการคุ้มครองบุคคล ซึ่งอาจได้รับอันตรายจากการบริโภคกัญชา ยาง หรือสารสกัด และการป้องกันการใช้ในทางที่ผิด มาตรการคุ้มครองในสถานที่ ยานพาหนะ ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลอื่นจากการใช้กัญชา ยางและสารสกัดกัญชา และบทกำหนดโทษ การกำหนดให้มีการส่งเสริมและคุ้มครองม่าง บทเฉพาะกาล และอัตราค่าธรรมเนียมในการออกใบอนุญาตและการอนุญาต</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 29 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=345</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=345</link>
<author><![CDATA[นายวิเชียร ศรีสุด กับผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวน 11,779 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติอำนาจเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. .....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้มีหลักการเพื่อปรับปรุงพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 โดยมีเหตุผลเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 129 กำหนดให้คณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีอำนาจเรียกเอกสารจากบุคคล หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในกิจการที่กระทำหรือในเรื่องที่พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาอยู่นั้นได้ และกำหนดผลบังคับทางกฎหมายเป็นมาตรการเชิงบังคับ โดยให้เป็นหน้าที่ของรัฐมนตรีที่รับผิดชอบในกิจการที่คณะกรรมาธิการสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาที่จะต้องสั่งการให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในสังกัดหรือในกำกับ ให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสาร หรือแสดงความคิดเห็นตามที่คณะกรรมาธิการเรียก ซึ่งเปลี่ยนแปลงหลักการและสาระสำคัญเกี่ยวกับอำนาจของคณะกรรมาธิการที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินกิจการในการสนับสนุนการดำเนินงานของรัฐสภาตามหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมาธิการมีกลไกและผลบังคับทางกฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหลักการและสาระสำคัญเกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมาธิการในกิจการที่กระทำหรือในการสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาเรื่องใด ๆ ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จึงต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 29 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=344</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=344</link>
<author><![CDATA[นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงวัยเต็มตัว เป็นวิกฤตโครงสร้างประชากรไทยที่จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ในขณะที่จำนวนวัยแรงงานลดลง คาดว่าในปี 2580 จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มถึง 30% ของจำนวนประชากรทั้งหมดหรือ ประมาณ 19.8 ล้านคน ปัจจุบันมีผู้สูงอายุยากจนถึง 1.19 ล้านคน การระบาดของโควิด-19 ที่ผ่านมาพบว่าผู้สูงอายุกว่า 38% ต้องพึ่งพิงรายได้จากลูกหลาน รองลงมา 19% พึ่งเบี้ยยังชีพจากรัฐ ส่วนคนที่ได้รับบำนาญมีเพียง 8% โดยมีผู้สูงอายุ 36% สูญเสียรายได้จากการขาดอาชีพ ทำให้สัดส่วนการทำงานลดลงและต้องพึ่งเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นถึง 40% และมีเพียงข้าราชการเกษียณที่มีบำนาญจากงบประมาณรัฐ ส่วนลูกจ้างของสถานประกอบการมีบำนาญที่มาจากการสะสมร่วมกันของลูกจ้างและนายจ้างในระบบประกันสังคมไม่เพียงเท่านั้น สำนักงานสถิติแห่งชาติสำรวจผู้ทำงานในปี 2561 มีจำนวน 38.3 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นแรงงานนอกระบบคือไม่มีหลักประกันสังคมใด ๆ 55% หรือจำนวน 21.2 ล้านคน ซึ่งคือคนทำงานที่มีการศึกษาไม่ในภาคการเกษตร คนเหล่านี้ย่อมไม่มีรายได้เพียงพอสะสมเพื่อไว้ใช้เป็นบำนาญเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ทำให้ประเทศไทยเผชิญปัญหาการเข้าสู่สังคมสูงวัยโดยที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีบำนาญเป็นหลักประกันรายได้รายเดือนที่เพียงพอ การแก้ปัญหาโดยการจ่ายเบี้ยยังชีพรายเดือนให้ผู้สูงอายุเป็นเพียงการประทังปัญหาเมื่อปลายเหตุและเป็นการแก้ปัญหาเชิงสงเคราะห์ ในขณะที่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นสิทธิของผู้สูงอายุที่รัฐต้องรับรองสิทธิและพึงจัดการให้ได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมตามศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทในการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนผู้สูงอายุในเรื่องต่าง ๆ ให้เพิ่มขึ้น อันเป็นผลสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในหมวด ๆ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 48 วรรคสอง บัญญัติรองรับสิทธิของบุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ และหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 71 ได้บัญญัติให้รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และด้อยโอกาสให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ อำนาจหน้าที่ของกรรมการนโยบายกองทุนบำนาญ การเปลี่ยนแปลงสิทธิของผู้สูงอายุจากสิทธิที่ได้รับเบี้ยยังชีพเป็นสิทธิได้รับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติถ้วนหน้า เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ จ่ายเป็นรายเดือนอย่างสม่ำเสมอตลอดช่วงชีวิตของผู้สูงอายุที่ไม่น้อยกว่าระดับรายได้ตามเส้นแบ่งความยากจนที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ รัฐบาลได้มีนโยบายและมาตรการในการจ่ายเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่ต่ำกว่าระดับรายได้ตามเส้นความยากจนซึ่งไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตให้มีคุณภาพได้ และเนื่องจากกองทุนผู้สูงอายุตามกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุในปัจจุบันมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนจ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม การสนับสนุนและการจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการจัดระบบการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติอย่างถ้วนหน้า จึงสมควรเพิ่มบทบัญญัติเรื่องการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้ที่เพียงพอแก่การดำเนินชีวิตตามหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และให้พิจารณาอัตราการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติแก่ผู้มีอายุหกสิบปีขึ้นไปทุกคนตามเส้นความยากจนของประเทศในทุก ๆ สามปี และบทบัญญัติว่าด้วยการมีกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ รวมทั้งกำหนดที่มาของเงินเข้ากองทุนบำนาญให้มีรายได้จากเงินบำรุงตามกฎหมายต่าง ๆ รวมทั้งมีรายได้อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1) ซื่อกฎหมาย เปลี่ยนชื่อเป็น "พระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …." (มาตรา 1 และมาตรา 3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2) กำหนดนิยามศัพท์ "ผู้สูงอายุ" "กองทุนบำนาญ" "คณะกรรมการนโยบาย" และ"สำนักงาน" (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3) กำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นหนึ่งชุดชื่อ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" ประกอบไปด้วยหน่วยราชการ เอกชนและภาคประซาชน ผู้ทรงคุณวุฒิในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อกำหนดนโยบายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรมและยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจ และสังคม ให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่มรวมถึงผู้เสียภาษีให้รัฐทั้งทางตรงทางอ้อม (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4) กำหนดให้ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีอำนาจหน้าที่กำหนดนโยบายการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรม ยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจและสังคม กำหนดระเบียบหลักเกณฑ์ จัดทำบัญชีรายชื่อ รวมทั้งการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (มาตรา 7)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าและดำเนินการจัดทำทะเบียนรายชื่อผู้สูงอายุที่มีอายุครบหกสิบปีขึ้นไปเพื่อรับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติกำหนดในระเบียบ และให้หมายความรวมถึงการได้รับมอบหมายจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติในกรณีไม่สามารถโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของผู้มีสิทธิด้วย รวมทั้งกำหนดให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จัดทำงบประมาณประจำปีเพื่อจ่ายบำนาญพื้นฐาน (มาตรา 8)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6) แก้ไขข้อความใน (3) ของมาตรา 9 และ (12) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ดังนี้ "(3) พิจารณาให้การสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ และการพัฒนาผู้สูงอายุ" และ "(12) การจัดสวัสดิการในการจัดการศพตามประเพณี" ทั้งนี้เพื่อเป็นการกำหนดให้กฎหมายมีถ้อยความที่ส่งเสริมคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน โดยการยกเลิกคำว่า "สงเคราะห์" ที่มีความหมายในเชิงลบและอาจด้อยค่าศักดิ์ศรีของผู้รับ ให้เป็นคำว่า "การจัดสวัสดิการ" แทน (มาตรา 6 และมาตรา 10)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7) ยกเลิกความใน (11) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 เป็น "(11) การจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเป็นรายเดือนเพื่อเป็นหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุตามอัตราที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นขอบ ทั้งนี้ ควรมีอัตราไม่ต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจนตามที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในปีก่อนจ่ายด้วย และให้มีการศึกษาเพื่อปรับปรุงอัตราการจ่ายทุกสามปี" เพื่อกำหนดอัตราบำนาญพื้นฐานแห่งชาติสำหรับทุกคนเมื่ออายุหกสิบปี ให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ โดยให้อ้างอิงจากประกาศเส้นความยากจนของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทั้งนี้ สามารถเริ่มต้นจากการปรับเปลี่ยนการรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่จ่ายจากงบประมาณให้กับผู้สูงอายุทุกคนมาเป็นบำนาญพื้นฐานแห่งชาติตามกฎหมายนี้ (มาตรา 9)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8) กำหนดให้มีการจัดตั้งกองทุนขึ้นอยู่ภายใต้กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรียกว่า "กองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีวัตถุประสงค์เฉพาะให้เป็นแหล่งเงินทุนสำหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ โดยมีการบริหารจัดการกองทุนที่แยกต่างหากจาก"กองทุนผู้สูงอายุ" ตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม โดยจัดตั้งสำนักงานขึ้นภายในกรมกิจการผู้สูงอายุ สำนักงานมีอำนาจหน้าที่จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิได้รับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ การจัดทำงบประมาณบำนาญพื้นฐานแห่งชาติรายปี บริหารจัดการระบบการจ่ายบำนาญ จัดทำรายงาน และงานธุรการอื่น ๆ รวมถึงกำหนดเกณฑ์สรรหาและระเบียบการเพิ่มผู้ปฏิบัติงานของสำนักงานที่กำหนดโดยคณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ กรณีที่คณะกรรมการมิได้กำหนดระเบียบ เกณฑ์ เงื่อนไข ให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการมาใช้โดยอนุโลม (มาตรา 11)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9) กำหนดแหล่งที่มารายได้ของกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ เนื่องจากการจัดทำระบบบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้ครอบคลุมผู้สูงอายุหกสิบปีขึ้นไปแบบถ้วนหน้าที่เพียงพอ โดยใช้อัตราเส้นความยากจนที่กำหนดโดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำเป็นต้องใช้งบประมาณเพิ่มจากการจ่ายเป็นเบี้ยยังชีพตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม เพื่อให้กองทุนบำนาญมีความยั่งยืนและมีรายได้ต่อเนื่องจึงได้กำหนดให้เพิ่มที่มาของรายได้เพื่อสมทบเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยกำหนดแหล่งที่มาของรายได้จากหน่วยงานจัดเก็บของรัฐตามที่กำหนดไว้ในร่างกฎหมายฉบับนี้ กำหนดหลักเกณฑ์ อัตราการเรียกเก็บจากหน่วยจัดเก็บ รวมทั้งกำหนดบทลงโทษ กรณีที่การจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติล่าช้า (มาตรา 12 และมาตรา 13)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10) แก้ไขเพิ่มเติมกรณีผู้บริจาคเงินเข้ากองทุนและกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ ให้มีสิทธินำเงินบริจาคไปคำนวณลดหย่อนภาษีเงิน่ได้ หรือได้รับการยกเว้นภาษีสำหรับทรัพย์สินที่บริจาค รวมทั้งกำหนดการแสดงแบบรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปีต่อกรมสรรพากร (มาตรา 14)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11) กำหนดให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญแห่งชาติ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุเป็นรองประธานผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนกรมบัญชีกลาง และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนห้าคน โดยในจำนวนนี้ต้องเป็นผู้แทนองค์กรของผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้เชี่ยวชาญด้านระดมทุนหนึ่งคน เป็นกรรมการ และให้ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยใช้กฎ ระเบียบเกณฑ์ การดำรงตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการแต่งตั้งอนุกรรมการ หรือกรรมการบริหารตามบทบัญญัติตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 และมาตรา 8 มาใช้ในกฎหมายนี้ (มาตรา 16 และมาตรา 17)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 12) กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ประกอบด้วยการพิจารณากลั่นกรองแผนโครงการ ประมาณการวงเงินของกองทุนบำนาญ การลงทุน จัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุนบำนาญ โดยการนำเงินกองทุนบำนาญบางส่วนไปลงทุนเพื่อจัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุน ทั้งการลงทุนเองหรือมอบหมายให้สถาบันทางการเงินหรือนิติบุคคลอื่นไปดำเนินการแทนได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไซที่กรรมการกำหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ให้คณะกรรมการกำหนดการใช้เกณฑ์และวิธีการจ่ายเบี้ยประชุม และค่าตอบแทนอื่นตามความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (มาตรา 18)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 13) ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกประกาศหรือระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงดังกล่าว (มาตรา 24)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 14) กำหนดให้ระยะเริ่มแรกในการดำเนินการของกฎหมายนี้ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาปรับอัตราการรับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติของผู้สูงอายุให้เพิ่มขึ้น โดยให้มีอัตราที่ใกล้เคียงกับเส้นแบ่งความยากจนตามที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำหนด โดยให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในสามปีนับจากวันที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ และกำหนดให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</link>
<author><![CDATA[นายนิมิตร์ เทียนอุดม กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 42,445 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติรับรองให้บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน รวมถึงการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลด้วยเหตุความเชื่อทางศาสนาอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุอื่นใด จะกระทำมิได้ แม้ในปัจจุบันการส่งเสริมการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้น แต่กฎหมายที่ใช้บังคับในปัจจุบันมีเพียงพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 อันเป็นกฎหมายเพียงฉบับเดียวที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ที่มีการใช้บังคับกันมาอย่างยาวนาน ซึ่งยังปรากฎปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในหลายประเด็น อาทิ สภาพการบังคับใช้ในประเทศไทยไม่ได้บังคับใช้กฎหมายอิสลามกับมุสลิมทั่วทั้งประเทศ แต่ให้ใช้บังคับในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล เท่านั้น สมควรที่จะต้องสร้างความเชื่อมั่นระหว่างรัฐกับประชาชน เพื่อให้บุคคลเสมอกันในกฎหมายและไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม รวมถึงทำให้บุคคลผู้นับถือศาสนาอิสลามสามารถเข้าถึงความยุติธรรมและทำให้สังคมมีความมั่นคงปลอดภัย สอดคล้องกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้กำหนดสาระสำคัญให้ยกเลิกให้พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 และมีการกำหนดบทนิยามคำว่า “มุสลิม” “ศาล” และ“ดะโต๊ะยุติธรรม” พร้อมทั้งกำหนดให้การพิจารณาพิพากษาและวินิจฉัยชี้ขาดคดีแพ่งเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก รวมถึงสภาพและสิทธิของบุคคลอื่นเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก ซึ่งมุสลิมเป็นคู่ความในขณะมูลคดีเกิด หรือมุสลิมเป็นผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท หรือในคดีที่เกี่ยวกับมรดกในกรณีที่เจ้ามรดกเป็นมุสลิม ให้ใช้บังคับตามหลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก และกำหนดให้มีองค์คณะคดีครอบครัวและมรดกอิสลามในศาลแพ่ง ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลจังหวัด และศาลฎีกา และมีการกำหนดกระบวนการพิจารณาคดี ไว้เป็นการเฉพาะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</link>
<author><![CDATA[นายกมลศักดิ์ ลีวาเมาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ด้วยพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 ให้อำนาจแก่สภาทหารผ่านศึกในการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการให้การสงเคราะห์แก่ทหารผ่านศึก ครอบครัวทหารผ่านศึก และทหารผ่านศึกนอกประจำการ ซึ่งอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 เพื่อตราข้อบังคับสภาทหารผ่านศึกว่าด้วยการสงเคราะห์ ซึ่งใช้บังคับในปัจจุบันไม่ได้กำหนดให้ทหารผ่านศึกนอกประจำการ บัตรชั้นที่ 2 บัตรชั้นที่ 3 และบัตรชั้นที่ 4 มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็น</span><span style="color:black">ค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือนแต่อย่างใด ประกอบกับทหารผ่านศึกนอกประจำการดังกล่าว ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 298,026 คน ได้พ้นหน้าที่จากการรับใช้ประเทศชาติแล้วมีความเป็นอยู่ที่ยากจนข้นแค้นและยากลำบาก แม้จะได้รับการสงเคราะห์ในด้านอื่น ๆ จากองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกบ้างแล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพในสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ดังนั้น จึงสมควรกำหนดให้มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็นค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือน รวมถึงสิทธิประโยชน์อื่นใด ในอัตราที่คำนึงถึงความจำเป็นและความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพตามสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อความเป็นธรรมและผดุงเกียรติแก่ทหารผ่านศึกนอกประจำการผู้ซึ่งเคยปฏิบัติหน้าที่การสงครามหรือในการรบหรือป้องกันหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักรไม่ว่าในหรือภายนอกราชอาณาจักร</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ทั้งนี้ จึงจำเป็นต้องยกร่างพระราชบัญญัตินี้ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 ของพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</link>
<author><![CDATA[นายอนุลักษณ์ ชอบสะอาด กับผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 11,444 คน]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติสร้างเสริมสังคมสันติสุข พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> โดยที่ตลอดระยะเวลาสิบกว่าปีที่ผ่านมา สังคมไทยเกิดการแตกแยกความคิดทางการเมือง มีการชุมนุมทางการเมืองต่อต้านรัฐบาลอย่างต่อเนื่องหลากหลายรูปแบบ ผู้ร่วมชุมนุมจำนวนมากถูกดำเนินคดีทั้งทางแพ่งและอาญา ก่อให้เกิดปัญหาที่ร้าวลึกลงสู่สังคมไทยทุกระดับ สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อประเทศชาติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและวัฒนธรรม แม้ว่าการกระทำต่าง ๆ ของผู้ร่วมชุมนุมและประชาชน ล้วนแต่ได้กระทำไปเพื่อแสดงออกทางความคิดเห็นทางการเมือง เป็นการใช้สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ จึงสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการสร้างเสริมสังคมสันติสุข เพื่อนิรโทษกรรมแก่ประชาชนทุกกลุ่มที่ได้กระทำผิดจากการชุมนุมทางการเมืองและจากการแสดงออกทางการเมือง เป็นการให้โอกาสกับประชาชนในการแสดงออกทางการเมือง ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย และรักษาคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ซึ่งจะส่งผลต่อการสร้างเสริมสังคมสันติสุข ลดความขัดแย้ง และสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ เพื่อร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาประเทศให้มีความเจริญยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ ความผิดที่จะได้นิรโทษกรรม คือ ความผิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2549 – 30 พฤศจิกายน 2565 ในฐานความผิด ดังต่อไปนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (1) ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา 113 (1) หรือ (2) มาตรา 114 (เฉพาะการตระเตรียมการอื่นใด หรือสมทบกันเพื่อเป็นกบฏ) มาตรา 116 และมาตรา 117</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (2) ความผิดเกี่ยวกับก่อการร้าย ตามมาตรา 135/1 (2) หรือ (3) มาตรา 135/2 และมาตรา 135/3</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (3) ความผิดต่อเจ้าพนักงาน ตามมาตรา 136 มาตรา 138 และมาตรา 139</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (4) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามมาตรา 209 วรรคหนึ่ง มาตรา 210 ถึงมาตรา 214 มาตรา 215 วรรคหนึ่ง และมาตรา 216</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (5) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามมาตรา 217 ถึงมาตรา 220 มาตรา 225 และมาตรา 226</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (6) ความผิดต่อร่างกาย ตามมาตรา 295 มาตรา 299 และมาตรา 300</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (7) ความผิดต่อเสรีภาพ ตามมาตรา 309 วรรคหนึ่งและวรรคสาม มาตรา 310 วรรคหนึ่ง มาตรา 310 ทวิ และมาตรา 311 วรรคหนึ่ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (8) ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามมาตรา 358 และมาตรา 359 (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (9) ความผิดฐานบุกรุก ตามมาตรา 362 มาตรา 364 และมาตรา 365 (1) หรือ (2) โดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป หรือ (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 30 และมาตรา 31</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</link>
<author><![CDATA[นายปรีดา บุญเพลิง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ.....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ..... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ดังนี้</p>
<p> 1. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดแบบและข้อความของกรมธรรม์ที่ผู้เอาประกันภัยไม่รับเงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หรือรับกรมธรรม์ใช้เงินสำเร็จจากผู้รับประกันภัยได้ (เพิ่มมาตรา 29/1)</p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยกรณีที่เป็นการประกันภัยแบบกลุ่มหรือการประกันภัยในลักษณะเดียวกันหรือเป็นการประกันภัยแบบอื่นที่นายทะเบียนอนุญาตได้ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 30)</p>
<p> 3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ประกันภัย (แก้ไขเพิ่มเติมหมวด 4/1 นักคณิตศาสตร์ประกันภัย)</p>
<p> โดยที่ปัจจุบันบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ในส่วนที่เกี่ยวกับ<br>
การควบคุมบริษัทในการกำหนดแบบและข้อความ และอัตราเบี้ยประกันภัยในกรมธรรม์ประกันภัย<br>
ไม่เหมาะสมแก่การประกอบธุรกิจประกันภัย จำกัดทางเลือกผู้เอาประกันภัยในการจัดการเบี้ยประกันภัยเกินจำเป็น สมควรแก้เพิ่มเติมให้การประกอบธุรกิจประกันภัยมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และเพิ่มมาตรการคุ้มครองผู้เอาประกันภัย รวมทั้งยกระดับนักคณิตศาสตร์ประกันภัยผู้มีบทบาทสำคัญในธุรกิจประกันภัยให้มีศักยภาพสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><u>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</u></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</link>
<author><![CDATA[นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัตินี้เป็นการเสนอกฎหมายเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางเพศ โดยมีหลักการแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” และแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกเหตุฉกรรจ์ของความผิดฐานอนาจาร และกำหนดความผิดฐานคุกคามทางเพศเป็นความผิดฐานใหม่ ทั้งนี้ มีเหตุผลเนื่องจากในปัจจุบันมีการกระทำผิดทางเพศในหลายรูปแบบและเป็นการกระทำต่อบุคคลทุกวัย ทุกเพศ รวมถึงผู้มีความหลากหลายทางเพศ อันเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ถูกกระทำ ดังนั้น จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” เพื่อให้ครอบคลุมถึงการกระทำความผิดในพฤติการณ์ต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายและเนื่องจากในปัจจุบันปัญหาการคุกคามทางเพศมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ซึ่งกฎหมายที่มีการกำหนดให้การกระทำในลักษณะดังกล่าวมีความผิดนั้น มีเพียงความผิดฐานก่อความเดือดร้อนรำคาญซึ่งเป็นความผิดฐานลหุโทษและยังไม่ตรงกับลักษณะของการกระทำที่เป็นการคุกคามทางเพศโดยตรง สมควรกำหนดให้การคุกคามทางเพศเป็นความผิดทางอาญา เพื่อเป็นการลงโทษผู้กระทำความผิดและปรามมิให้เกิดการกระทำความผิดขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัติ</p>
<p> </p>
<p>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</link>
<author><![CDATA[นายอนุทิน ชาญวีรกูล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. .... เสนอเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ โดยยกระดับคณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ (Fruit Board) ซึ่งตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. 2550 ให้เป็นการดำเนินการในกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ โดยกำหนดให้มีตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นรองประธาน กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง กรรมการผู้แทนเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับผลไม้ไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยให้มีหน้าที่และอำนาจในการกำหนดชนิด ประเภทของผลไม้ไทยให้เป็นผลไม้เศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ</p>
<p> กำหนดให้มีการตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ ช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการ สถาบันเกษตรกรและเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้ไทย โดยให้กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยธุรการของกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p> นอกจากนี้ยังกำหนดให้หน่วยงานของรัฐที่มีการดำเนินการเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ต้องให้ความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</link>
<author><![CDATA[นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
TonyRL
reviewed
Jan 30, 2024
Successfully generated as following: http://localhost:1200/parliament/section77 - Success ✔️<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<rss xmlns:atom="http://www.w3.org/2005/Atom" version="2.0"
>
<channel>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ]]></title>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_more_news.php</link>
<atom:link href="http://localhost:1200/parliament/section77" rel="self" type="application/rss+xml" />
<description><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติที่เปิดรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ - Made with love by RSSHub(https://github.com/DIYgod/RSSHub)]]></description>
<generator>RSSHub</generator>
<webMaster>i@diygod.me (DIYgod)</webMaster>
<language>th-th</language>
<lastBuildDate>Tue, 30 Jan 2024 16:38:07 GMT</lastBuildDate>
<ttl>5</ttl>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติกัญชา กัญชง ม่าง พ.ศ. .......]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัตินี้เสนอเพื่อให้มีกฎหมายว่าด้วยกัญชา กัญชง ม่าง เนื่องจากพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 บัญญัติให้กัญชา กัญชง ไม่เป็นยาเสพติดให้โทษอีกต่อไป แต่ยังขาดพระราชบัญญัติว่าด้วยกัญชา กัญชงเพื่อควบคุม จัดระบบ ระเบียบการปลูกการนำไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งเป็นการบัญญัติกฎหมายเพื่อควบคุมป้องกันการใช้กัญชา กัญชงและสารสกัดไปใช้ในทางที่ผิด จึงมีการตราพระราชบัญญัติฉบับนี้ขึ้น เพื่อกำหนดให้มีมาตรการส่งเสริม สนับสนุน ให้นำกัญชา กัญชง และสารสกัดไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางด้านการแพทย์ การพาณิชย์ อุตสาหกรรม แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม เภสัชกรรม การนวดไทย การผดุงครรภ์ สัตวแพทย์ การเลี้ยงสัตว์ หมอพื้นบ้าน การท่องเที่ยว สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ และการใช้ประโยชน์ในครัวเรือน วิจัยและพัฒนา สร้างนวัตกรรม แปรรูป ผลิตภัณฑ์ ตลอดถึงการสร้างองค์ความรู้ บูรณาการร่วมกับแพทย์แผนปัจจุบัน ทั้งส่งเสริม สนับสนุน ควบคุมการนำเข้า ส่งออก สกัด จำหน่าย แปรรูป และกำหนดให้มีมาตรการทางกฎหมาย ควบคุมการนำกัญชา กัญชง และสารสกัด ไปใช้ในทางที่ผิด โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน สตรีมีครรภ์ สตรีให้นมบุตร และบุคคลอื่นใดที่อาจก่อให้เกิดอันตราย <br>
ทั้งควบคุม ดูแล คุ้มครองสถานที่ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลอื่น เช่น วัดและสถานปฏิบัติพิธีทาง ศาสนา หอพัก สถานศึกษา มหาวิทยาลัย สวนสาธารณะ สวนสัตว์ และสวนสนุก ในขณะเดียวกันก็ปรากฏว่าที่ผ่านมามีการนับรวมเอาพืชท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งที่มีลักษณะคล้ายกันกับกัญชา กัญชง คือ พืชม่าง รวมเข้าด้วยกันโดยไม่ได้คำนึงถึงวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์และความเป็นมา ตลอดจนความผูกพันของพืชม่างกับระบบวิถีชีวิตตามประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ และภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เป็นเหตุให้เกิดผลกระทบต่อกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง<br>
มาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น เมื่อมีการปลดล็อคกัญซา กัญชง และเพื่อเป็นการส่งเสริม และคุ้มครองพืชท้องถิ่นอื่นที่เคยถูกนับรวมเป็นกัญชา กัญชง ซึ่งเป็นการปลูกเพื่อเอาเส้นใยมาทำเป็นเส้นด้ายผลิตเสื้อผ้า และใช้ประโยชน์ในการดำรงชีพเท่านั้น แต่มิได้ถูกใช้ในการเอาสารสกัดแด่อย่างใด ให้คงมีอยู่คู่กับ<br>
วิถีชีวิตของท้องถิ่นตลอดไป</p>
<p>ดังนั้น การตราพระราชบัญญัติฉบับนี้ เมื่อมีผลปังคับใช้นำไปสู่ภาคปฏิบัติ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวซ้องต้องร่วมกันส่งเสริม สนับสนุน คุ้มครอง สร้างองค์ความรู้ ฝึกอบรมเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ สร้างรายได้ พัฒนาคุณภาพชีวิตในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม สร้างเศรษฐกิจการเกษตรในวงกว้าง สร้างความสมดุลทางระบบนิเวศน์มีความยั่งยืนแบบครบวงจร สร้างฐานรายได้ให้เกษตรกรอยู่ดี กินดี สังคมสงบสุข สร้างความเข้มแข็งทางประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งเป็นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจระดับชาติให้สูงขึ้น</p>
<p>ร่างพระราชบัญญัตินี้กำหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายกัญชา กัญชง ม่างแห่งชาติ การกำหนดให้มีการขออนุญาตและอนุญาตแก่ผู้ประสงค์จะผลิต นำเข้า ส่งออก หรือจำหน่ายกัญชา กัญชง หรือสารสกัด การขออนุญาตเพาะปลุกกัญชา กัญชง การจดแจ้งและการรับแจ้ง การใช้ประโยชน์จากกัญชา กัญชงในครัวเรือน และการกำหนดกระบวนการพิจารณาอนุญาต การพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต หรือใบรับจดแจ้ง การกำหนดการโฆษณา การกำหนดบทบาทหน้าที่ของพนักงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการกำหนดการอุทธรณ์กรณีผู้อนุญาตหรือผู้รับจดแจ้งไม่ออกใบอนุญาต ใบรับจดแจ้ง หรือไม่อนุญาตให้ต่อใบอนุญาต หรือใบรับจดแจ้ง และกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ การกำหนดให้มีมาตรการคุ้มครองบุคคล ซึ่งอาจได้รับอันตรายจากการบริโภคกัญชา ยาง หรือสารสกัด และการป้องกันการใช้ในทางที่ผิด มาตรการคุ้มครองในสถานที่ ยานพาหนะ ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลอื่นจากการใช้กัญชา ยางและสารสกัดกัญชา และบทกำหนดโทษ การกำหนดให้มีการส่งเสริมและคุ้มครองม่าง บทเฉพาะกาล และอัตราค่าธรรมเนียมในการออกใบอนุญาตและการอนุญาต</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 29 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=345</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=345</link>
<author><![CDATA[นายวิเชียร ศรีสุด กับผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวน 11,779 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติอำนาจเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. .....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้มีหลักการเพื่อปรับปรุงพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 โดยมีเหตุผลเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 129 กำหนดให้คณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีอำนาจเรียกเอกสารจากบุคคล หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในกิจการที่กระทำหรือในเรื่องที่พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาอยู่นั้นได้ และกำหนดผลบังคับทางกฎหมายเป็นมาตรการเชิงบังคับ โดยให้เป็นหน้าที่ของรัฐมนตรีที่รับผิดชอบในกิจการที่คณะกรรมาธิการสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาที่จะต้องสั่งการให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในสังกัดหรือในกำกับ ให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสาร หรือแสดงความคิดเห็นตามที่คณะกรรมาธิการเรียก ซึ่งเปลี่ยนแปลงหลักการและสาระสำคัญเกี่ยวกับอำนาจของคณะกรรมาธิการที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินกิจการในการสนับสนุนการดำเนินงานของรัฐสภาตามหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมาธิการมีกลไกและผลบังคับทางกฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหลักการและสาระสำคัญเกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจของคณะกรรมาธิการในกิจการที่กระทำหรือในการสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาเรื่องใด ๆ ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จึงต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 29 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=344</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=344</link>
<author><![CDATA[นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงวัยเต็มตัว เป็นวิกฤตโครงสร้างประชากรไทยที่จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ในขณะที่จำนวนวัยแรงงานลดลง คาดว่าในปี 2580 จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มถึง 30% ของจำนวนประชากรทั้งหมดหรือ ประมาณ 19.8 ล้านคน ปัจจุบันมีผู้สูงอายุยากจนถึง 1.19 ล้านคน การระบาดของโควิด-19 ที่ผ่านมาพบว่าผู้สูงอายุกว่า 38% ต้องพึ่งพิงรายได้จากลูกหลาน รองลงมา 19% พึ่งเบี้ยยังชีพจากรัฐ ส่วนคนที่ได้รับบำนาญมีเพียง 8% โดยมีผู้สูงอายุ 36% สูญเสียรายได้จากการขาดอาชีพ ทำให้สัดส่วนการทำงานลดลงและต้องพึ่งเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นถึง 40% และมีเพียงข้าราชการเกษียณที่มีบำนาญจากงบประมาณรัฐ ส่วนลูกจ้างของสถานประกอบการมีบำนาญที่มาจากการสะสมร่วมกันของลูกจ้างและนายจ้างในระบบประกันสังคมไม่เพียงเท่านั้น สำนักงานสถิติแห่งชาติสำรวจผู้ทำงานในปี 2561 มีจำนวน 38.3 ล้านคน ในจำนวนนี้เป็นแรงงานนอกระบบคือไม่มีหลักประกันสังคมใด ๆ 55% หรือจำนวน 21.2 ล้านคน ซึ่งคือคนทำงานที่มีการศึกษาไม่ในภาคการเกษตร คนเหล่านี้ย่อมไม่มีรายได้เพียงพอสะสมเพื่อไว้ใช้เป็นบำนาญเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ทำให้ประเทศไทยเผชิญปัญหาการเข้าสู่สังคมสูงวัยโดยที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีบำนาญเป็นหลักประกันรายได้รายเดือนที่เพียงพอ การแก้ปัญหาโดยการจ่ายเบี้ยยังชีพรายเดือนให้ผู้สูงอายุเป็นเพียงการประทังปัญหาเมื่อปลายเหตุและเป็นการแก้ปัญหาเชิงสงเคราะห์ ในขณะที่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นสิทธิของผู้สูงอายุที่รัฐต้องรับรองสิทธิและพึงจัดการให้ได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมตามศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทในการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนผู้สูงอายุในเรื่องต่าง ๆ ให้เพิ่มขึ้น อันเป็นผลสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในหมวด ๆ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 48 วรรคสอง บัญญัติรองรับสิทธิของบุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ และหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 71 ได้บัญญัติให้รัฐพึงให้ความช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้ และด้อยโอกาสให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ อำนาจหน้าที่ของกรรมการนโยบายกองทุนบำนาญ การเปลี่ยนแปลงสิทธิของผู้สูงอายุจากสิทธิที่ได้รับเบี้ยยังชีพเป็นสิทธิได้รับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติถ้วนหน้า เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ จ่ายเป็นรายเดือนอย่างสม่ำเสมอตลอดช่วงชีวิตของผู้สูงอายุที่ไม่น้อยกว่าระดับรายได้ตามเส้นแบ่งความยากจนที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ รัฐบาลได้มีนโยบายและมาตรการในการจ่ายเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่ต่ำกว่าระดับรายได้ตามเส้นความยากจนซึ่งไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตให้มีคุณภาพได้ และเนื่องจากกองทุนผู้สูงอายุตามกฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุในปัจจุบันมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนจ่ายเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริม การสนับสนุนและการจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำเนินการจัดระบบการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติอย่างถ้วนหน้า จึงสมควรเพิ่มบทบัญญัติเรื่องการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้ที่เพียงพอแก่การดำเนินชีวิตตามหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และให้พิจารณาอัตราการจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติแก่ผู้มีอายุหกสิบปีขึ้นไปทุกคนตามเส้นความยากจนของประเทศในทุก ๆ สามปี และบทบัญญัติว่าด้วยการมีกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ รวมทั้งกำหนดที่มาของเงินเข้ากองทุนบำนาญให้มีรายได้จากเงินบำรุงตามกฎหมายต่าง ๆ รวมทั้งมีรายได้อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> ร่างพระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1) ซื่อกฎหมาย เปลี่ยนชื่อเป็น "พระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …." (มาตรา 1 และมาตรา 3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2) กำหนดนิยามศัพท์ "ผู้สูงอายุ" "กองทุนบำนาญ" "คณะกรรมการนโยบาย" และ"สำนักงาน" (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3) กำหนดให้มีคณะกรรมการขึ้นหนึ่งชุดชื่อ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" ประกอบไปด้วยหน่วยราชการ เอกชนและภาคประซาชน ผู้ทรงคุณวุฒิในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อกำหนดนโยบายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรมและยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจ และสังคม ให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่มรวมถึงผู้เสียภาษีให้รัฐทั้งทางตรงทางอ้อม (มาตรา 4)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4) กำหนดให้ "คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีอำนาจหน้าที่กำหนดนโยบายการจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรม ยั่งยืน สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจและสังคม กำหนดระเบียบหลักเกณฑ์ จัดทำบัญชีรายชื่อ รวมทั้งการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (มาตรา 7)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าและดำเนินการจัดทำทะเบียนรายชื่อผู้สูงอายุที่มีอายุครบหกสิบปีขึ้นไปเพื่อรับบำนาญฟื้นฐานแห่งชาติ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติกำหนดในระเบียบ และให้หมายความรวมถึงการได้รับมอบหมายจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติในกรณีไม่สามารถโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของผู้มีสิทธิด้วย รวมทั้งกำหนดให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย จัดทำงบประมาณประจำปีเพื่อจ่ายบำนาญพื้นฐาน (มาตรา 8)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6) แก้ไขข้อความใน (3) ของมาตรา 9 และ (12) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ดังนี้ "(3) พิจารณาให้การสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ และการพัฒนาผู้สูงอายุ" และ "(12) การจัดสวัสดิการในการจัดการศพตามประเพณี" ทั้งนี้เพื่อเป็นการกำหนดให้กฎหมายมีถ้อยความที่ส่งเสริมคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน โดยการยกเลิกคำว่า "สงเคราะห์" ที่มีความหมายในเชิงลบและอาจด้อยค่าศักดิ์ศรีของผู้รับ ให้เป็นคำว่า "การจัดสวัสดิการ" แทน (มาตรา 6 และมาตรา 10)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7) ยกเลิกความใน (11) ของมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 เป็น "(11) การจ่ายเงินบำนาญพื้นฐานแห่งชาติเป็นรายเดือนเพื่อเป็นหลักประกันรายได้แก่ผู้สูงอายุตามอัตราที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นขอบ ทั้งนี้ ควรมีอัตราไม่ต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจนตามที่กำหนดโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในปีก่อนจ่ายด้วย และให้มีการศึกษาเพื่อปรับปรุงอัตราการจ่ายทุกสามปี" เพื่อกำหนดอัตราบำนาญพื้นฐานแห่งชาติสำหรับทุกคนเมื่ออายุหกสิบปี ให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ โดยให้อ้างอิงจากประกาศเส้นความยากจนของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทั้งนี้ สามารถเริ่มต้นจากการปรับเปลี่ยนการรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่จ่ายจากงบประมาณให้กับผู้สูงอายุทุกคนมาเป็นบำนาญพื้นฐานแห่งชาติตามกฎหมายนี้ (มาตรา 9)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8) กำหนดให้มีการจัดตั้งกองทุนขึ้นอยู่ภายใต้กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรียกว่า "กองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" มีวัตถุประสงค์เฉพาะให้เป็นแหล่งเงินทุนสำหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ โดยมีการบริหารจัดการกองทุนที่แยกต่างหากจาก"กองทุนผู้สูงอายุ" ตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม โดยจัดตั้งสำนักงานขึ้นภายในกรมกิจการผู้สูงอายุ สำนักงานมีอำนาจหน้าที่จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิได้รับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ การจัดทำงบประมาณบำนาญพื้นฐานแห่งชาติรายปี บริหารจัดการระบบการจ่ายบำนาญ จัดทำรายงาน และงานธุรการอื่น ๆ รวมถึงกำหนดเกณฑ์สรรหาและระเบียบการเพิ่มผู้ปฏิบัติงานของสำนักงานที่กำหนดโดยคณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ กรณีที่คณะกรรมการมิได้กำหนดระเบียบ เกณฑ์ เงื่อนไข ให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการมาใช้โดยอนุโลม (มาตรา 11)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9) กำหนดแหล่งที่มารายได้ของกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ เนื่องจากการจัดทำระบบบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้ครอบคลุมผู้สูงอายุหกสิบปีขึ้นไปแบบถ้วนหน้าที่เพียงพอ โดยใช้อัตราเส้นความยากจนที่กำหนดโดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จำเป็นต้องใช้งบประมาณเพิ่มจากการจ่ายเป็นเบี้ยยังชีพตามกฎหมายผู้สูงอายุเดิม เพื่อให้กองทุนบำนาญมีความยั่งยืนและมีรายได้ต่อเนื่องจึงได้กำหนดให้เพิ่มที่มาของรายได้เพื่อสมทบเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยกำหนดแหล่งที่มาของรายได้จากหน่วยงานจัดเก็บของรัฐตามที่กำหนดไว้ในร่างกฎหมายฉบับนี้ กำหนดหลักเกณฑ์ อัตราการเรียกเก็บจากหน่วยจัดเก็บ รวมทั้งกำหนดบทลงโทษ กรณีที่การจ่ายบำนาญพื้นฐานแห่งชาติล่าช้า (มาตรา 12 และมาตรา 13)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10) แก้ไขเพิ่มเติมกรณีผู้บริจาคเงินเข้ากองทุนและกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ ให้มีสิทธินำเงินบริจาคไปคำนวณลดหย่อนภาษีเงิน่ได้ หรือได้รับการยกเว้นภาษีสำหรับทรัพย์สินที่บริจาค รวมทั้งกำหนดการแสดงแบบรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปีต่อกรมสรรพากร (มาตรา 14)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11) กำหนดให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญแห่งชาติ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุเป็นรองประธานผู้แทนสำนักงบประมาณ ผู้แทนกรมบัญชีกลาง และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนห้าคน โดยในจำนวนนี้ต้องเป็นผู้แทนองค์กรของผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้แทนองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งคน ผู้เชี่ยวชาญด้านระดมทุนหนึ่งคน เป็นกรรมการ และให้ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยใช้กฎ ระเบียบเกณฑ์ การดำรงตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและการแต่งตั้งอนุกรรมการ หรือกรรมการบริหารตามบทบัญญัติตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 และมาตรา 8 มาใช้ในกฎหมายนี้ (มาตรา 16 และมาตรา 17)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 12) กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติให้มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ประกอบด้วยการพิจารณากลั่นกรองแผนโครงการ ประมาณการวงเงินของกองทุนบำนาญ การลงทุน จัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุนบำนาญ โดยการนำเงินกองทุนบำนาญบางส่วนไปลงทุนเพื่อจัดหาผลประโยชน์และรายได้แก่กองทุน ทั้งการลงทุนเองหรือมอบหมายให้สถาบันทางการเงินหรือนิติบุคคลอื่นไปดำเนินการแทนได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไซที่กรรมการกำหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง นอกจากนี้ให้คณะกรรมการกำหนดการใช้เกณฑ์และวิธีการจ่ายเบี้ยประชุม และค่าตอบแทนอื่นตามความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (มาตรา 18)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 13) ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกประกาศหรือระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงดังกล่าว (มาตรา 24)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 14) กำหนดให้ระยะเริ่มแรกในการดำเนินการของกฎหมายนี้ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาปรับอัตราการรับบำนาญพื้นฐานแห่งชาติของผู้สูงอายุให้เพิ่มขึ้น โดยให้มีอัตราที่ใกล้เคียงกับเส้นแบ่งความยากจนตามที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำหนด โดยให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในสามปีนับจากวันที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ และกำหนดให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 20 และมาตรา 21)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=343</link>
<author><![CDATA[นายนิมิตร์ เทียนอุดม กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 42,445 คน]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติรับรองให้บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน รวมถึงการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลด้วยเหตุความเชื่อทางศาสนาอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือเหตุอื่นใด จะกระทำมิได้ แม้ในปัจจุบันการส่งเสริมการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกจะมีพัฒนาการที่ดีขึ้น แต่กฎหมายที่ใช้บังคับในปัจจุบันมีเพียงพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 อันเป็นกฎหมายเพียงฉบับเดียวที่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก ที่มีการใช้บังคับกันมาอย่างยาวนาน ซึ่งยังปรากฎปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในหลายประเด็น อาทิ สภาพการบังคับใช้ในประเทศไทยไม่ได้บังคับใช้กฎหมายอิสลามกับมุสลิมทั่วทั้งประเทศ แต่ให้ใช้บังคับในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล เท่านั้น สมควรที่จะต้องสร้างความเชื่อมั่นระหว่างรัฐกับประชาชน เพื่อให้บุคคลเสมอกันในกฎหมายและไม่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม รวมถึงทำให้บุคคลผู้นับถือศาสนาอิสลามสามารถเข้าถึงความยุติธรรมและทำให้สังคมมีความมั่นคงปลอดภัย สอดคล้องกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p> ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้กำหนดสาระสำคัญให้ยกเลิกให้พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตต์จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พ.ศ. 2489 และมีการกำหนดบทนิยามคำว่า “มุสลิม” “ศาล” และ“ดะโต๊ะยุติธรรม” พร้อมทั้งกำหนดให้การพิจารณาพิพากษาและวินิจฉัยชี้ขาดคดีแพ่งเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก รวมถึงสภาพและสิทธิของบุคคลอื่นเกี่ยวด้วยครอบครัวและมรดก ซึ่งมุสลิมเป็นคู่ความในขณะมูลคดีเกิด หรือมุสลิมเป็นผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท หรือในคดีที่เกี่ยวกับมรดกในกรณีที่เจ้ามรดกเป็นมุสลิม ให้ใช้บังคับตามหลักกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดก และกำหนดให้มีองค์คณะคดีครอบครัวและมรดกอิสลามในศาลแพ่ง ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลจังหวัด และศาลฎีกา และมีการกำหนดกระบวนการพิจารณาคดี ไว้เป็นการเฉพาะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 22 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=342</link>
<author><![CDATA[นายกมลศักดิ์ ลีวาเมาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เข้าใหม่</category>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ด้วยพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 ให้อำนาจแก่สภาทหารผ่านศึกในการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการให้การสงเคราะห์แก่ทหารผ่านศึก ครอบครัวทหารผ่านศึก และทหารผ่านศึกนอกประจำการ ซึ่งอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 เพื่อตราข้อบังคับสภาทหารผ่านศึกว่าด้วยการสงเคราะห์ ซึ่งใช้บังคับในปัจจุบันไม่ได้กำหนดให้ทหารผ่านศึกนอกประจำการ บัตรชั้นที่ 2 บัตรชั้นที่ 3 และบัตรชั้นที่ 4 มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็น</span><span style="color:black">ค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือนแต่อย่างใด ประกอบกับทหารผ่านศึกนอกประจำการดังกล่าว ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 298,026 คน ได้พ้นหน้าที่จากการรับใช้ประเทศชาติแล้วมีความเป็นอยู่ที่ยากจนข้นแค้นและยากลำบาก แม้จะได้รับการสงเคราะห์ในด้านอื่น ๆ จากองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกบ้างแล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพในสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ดังนั้น จึงสมควรกำหนดให้มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เงินช่วยเหลือเป็นค่าครองชีพพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพเพื่อผดุงเกียรติเป็นรายเดือน รวมถึงสิทธิประโยชน์อื่นใด ในอัตราที่คำนึงถึงความจำเป็นและความเหมาะสมสอดคล้องกับค่าครองชีพตามสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน เพื่อความเป็นธรรมและผดุงเกียรติแก่ทหารผ่านศึกนอกประจำการผู้ซึ่งเคยปฏิบัติหน้าที่การสงครามหรือในการรบหรือป้องกันหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักรไม่ว่าในหรือภายนอกราชอาณาจักร</span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"> ทั้งนี้ จึงจำเป็นต้องยกร่างพระราชบัญญัตินี้ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 ของพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2510 </span></p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"><span style="color:black"><strong>ตารางเปรียบเทียบ (เอกสารแนบ)</strong></span></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=341</link>
<author><![CDATA[นายอนุลักษณ์ ชอบสะอาด กับผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 11,444 คน]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยประชาชน</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติสร้างเสริมสังคมสันติสุข พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> โดยที่ตลอดระยะเวลาสิบกว่าปีที่ผ่านมา สังคมไทยเกิดการแตกแยกความคิดทางการเมือง มีการชุมนุมทางการเมืองต่อต้านรัฐบาลอย่างต่อเนื่องหลากหลายรูปแบบ ผู้ร่วมชุมนุมจำนวนมากถูกดำเนินคดีทั้งทางแพ่งและอาญา ก่อให้เกิดปัญหาที่ร้าวลึกลงสู่สังคมไทยทุกระดับ สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อประเทศชาติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและวัฒนธรรม แม้ว่าการกระทำต่าง ๆ ของผู้ร่วมชุมนุมและประชาชน ล้วนแต่ได้กระทำไปเพื่อแสดงออกทางความคิดเห็นทางการเมือง เป็นการใช้สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ จึงสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการสร้างเสริมสังคมสันติสุข เพื่อนิรโทษกรรมแก่ประชาชนทุกกลุ่มที่ได้กระทำผิดจากการชุมนุมทางการเมืองและจากการแสดงออกทางการเมือง เป็นการให้โอกาสกับประชาชนในการแสดงออกทางการเมือง ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย และรักษาคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ซึ่งจะส่งผลต่อการสร้างเสริมสังคมสันติสุข ลดความขัดแย้ง และสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติ เพื่อร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาประเทศให้มีความเจริญยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ ความผิดที่จะได้นิรโทษกรรม คือ ความผิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน 2549 – 30 พฤศจิกายน 2565 ในฐานความผิด ดังต่อไปนี้</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 1. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (1) ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามมาตรา 113 (1) หรือ (2) มาตรา 114 (เฉพาะการตระเตรียมการอื่นใด หรือสมทบกันเพื่อเป็นกบฏ) มาตรา 116 และมาตรา 117</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (2) ความผิดเกี่ยวกับก่อการร้าย ตามมาตรา 135/1 (2) หรือ (3) มาตรา 135/2 และมาตรา 135/3</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (3) ความผิดต่อเจ้าพนักงาน ตามมาตรา 136 มาตรา 138 และมาตรา 139</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (4) ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ตามมาตรา 209 วรรคหนึ่ง มาตรา 210 ถึงมาตรา 214 มาตรา 215 วรรคหนึ่ง และมาตรา 216</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (5) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ตามมาตรา 217 ถึงมาตรา 220 มาตรา 225 และมาตรา 226</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (6) ความผิดต่อร่างกาย ตามมาตรา 295 มาตรา 299 และมาตรา 300</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (7) ความผิดต่อเสรีภาพ ตามมาตรา 309 วรรคหนึ่งและวรรคสาม มาตรา 310 วรรคหนึ่ง มาตรา 310 ทวิ และมาตรา 311 วรรคหนึ่ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (8) ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตามมาตรา 358 และมาตรา 359 (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> (9) ความผิดฐานบุกรุก ตามมาตรา 362 มาตรา 364 และมาตรา 365 (1) หรือ (2) โดยร่วมกระทำความผิดด้วยกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป หรือ (3)</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 2. ความผิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 30 และมาตรา 31</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 3. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 4. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 5. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคม</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 6. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 7. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 8. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 9. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยจราจรทางบก</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 10. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์</p>
<p style="margin-left:0in; margin-right:0in"> 11. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการชุมนุมสาธารณะ</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Sun, 21 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=340</link>
<author><![CDATA[นายปรีดา บุญเพลิง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ.....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p>ร่างพระราชบัญญัติประกันชีวิต (ฉบับที่ ..) พ.ศ..... เสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ดังนี้</p>
<p> 1. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดแบบและข้อความของกรมธรรม์ที่ผู้เอาประกันภัยไม่รับเงินค่าเวนคืนกรมธรรม์ประกันภัย หรือรับกรมธรรม์ใช้เงินสำเร็จจากผู้รับประกันภัยได้ (เพิ่มมาตรา 29/1)</p>
<p> 2. แก้ไขเพิ่มเติมให้บริษัทสามารถกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยกรณีที่เป็นการประกันภัยแบบกลุ่มหรือการประกันภัยในลักษณะเดียวกันหรือเป็นการประกันภัยแบบอื่นที่นายทะเบียนอนุญาตได้ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 30)</p>
<p> 3. แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับนักคณิตศาสตร์ประกันภัย (แก้ไขเพิ่มเติมหมวด 4/1 นักคณิตศาสตร์ประกันภัย)</p>
<p> โดยที่ปัจจุบันบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 ในส่วนที่เกี่ยวกับ<br>
การควบคุมบริษัทในการกำหนดแบบและข้อความ และอัตราเบี้ยประกันภัยในกรมธรรม์ประกันภัย<br>
ไม่เหมาะสมแก่การประกอบธุรกิจประกันภัย จำกัดทางเลือกผู้เอาประกันภัยในการจัดการเบี้ยประกันภัยเกินจำเป็น สมควรแก้เพิ่มเติมให้การประกอบธุรกิจประกันภัยมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และเพิ่มมาตรการคุ้มครองผู้เอาประกันภัย รวมทั้งยกระดับนักคณิตศาสตร์ประกันภัยผู้มีบทบาทสำคัญในธุรกิจประกันภัยให้มีศักยภาพสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</p>
<p><u>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</u></p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=339</link>
<author><![CDATA[นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัตินี้เป็นการเสนอกฎหมายเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางเพศ โดยมีหลักการแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” และแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกเหตุฉกรรจ์ของความผิดฐานอนาจาร และกำหนดความผิดฐานคุกคามทางเพศเป็นความผิดฐานใหม่ ทั้งนี้ มีเหตุผลเนื่องจากในปัจจุบันมีการกระทำผิดทางเพศในหลายรูปแบบและเป็นการกระทำต่อบุคคลทุกวัย ทุกเพศ รวมถึงผู้มีความหลากหลายทางเพศ อันเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ถูกกระทำ ดังนั้น จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “กระทำชำเรา” เพื่อให้ครอบคลุมถึงการกระทำความผิดในพฤติการณ์ต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายและเนื่องจากในปัจจุบันปัญหาการคุกคามทางเพศมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ซึ่งกฎหมายที่มีการกำหนดให้การกระทำในลักษณะดังกล่าวมีความผิดนั้น มีเพียงความผิดฐานก่อความเดือดร้อนรำคาญซึ่งเป็นความผิดฐานลหุโทษและยังไม่ตรงกับลักษณะของการกระทำที่เป็นการคุกคามทางเพศโดยตรง สมควรกำหนดให้การคุกคามทางเพศเป็นความผิดทางอาญา เพื่อเป็นการลงโทษผู้กระทำความผิดและปรามมิให้เกิดการกระทำความผิดขึ้น จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัติ</p>
<p> </p>
<p>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=338</link>
<author><![CDATA[นายอนุทิน ชาญวีรกูล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>ไม่เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. .... เสนอเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ โดยยกระดับคณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ (Fruit Board) ซึ่งตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย พ.ศ. 2550 ให้เป็นการดำเนินการในกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ โดยกำหนดให้มีตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นรองประธาน กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง กรรมการผู้แทนเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับผลไม้ไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยให้มีหน้าที่และอำนาจในการกำหนดชนิด ประเภทของผลไม้ไทยให้เป็นผลไม้เศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ</p>
<p> กำหนดให้มีการตั้งกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทยทั้งระบบ ช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการ สถาบันเกษตรกรและเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้ไทย โดยให้กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยธุรการของกองทุนส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p> นอกจากนี้ยังกำหนดให้หน่วยงานของรัฐที่มีการดำเนินการเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย ต้องให้ความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ไทย</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Thu, 18 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=337</link>
<author><![CDATA[นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
<item>
<title><![CDATA[ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....]]></title>
<description><![CDATA[<h5><b>ข้อมูลประกอบการพิจารณา</b></h5>
<p></p><p> พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นและส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทั้งยังพบว่าในหลายกรณีข้อพิพาทที่เกิดขึ้นมักจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชนที่ไม่ได้มีสถานะเท่าเทียมกันขาดอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม จนเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกันในทางกฎหมาย ดังนั้น เพื่อปรับปรุงกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมต่อประชาชนทุกคนอย่างแท้จริง และสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงสมควรปรับปรุงบท บัญญัติดังกล่าวให้มีมาตรการที่เป็นธรรมในการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม โดยมีการเสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มีสาระสำคัญดังนี้</p>
<p> 1. ให้นำเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมมาใช้เยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการที่ริเริ่มหรือดำเนินการ โดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ระเบียบ และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนด (ร่างมาตรา 3 และมาตรา 4 )</p>
<p> 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมกำหนดหลักเกณฑ์ในการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือความเสียหายให้กับผู้ได้รับความเสียหายจากโครงการที่ขอรับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้เป็นเงื่อนไขในการอนุญาตโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 48 ด้วย (ร่างมาตรา 5)</p>
<p> 3. โครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นโครงการที่มีหรืออาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขอนามัยหรือส่วนได้เสียของประชาชนหรือชุมชนอย่างรุนแรงนั้น ต้องมีการจัดทำประกันภัยความรับผิดในความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศกำหนดด้วย (ร่างมาตรา 6)</p>
<p> </p>
<p><strong>ตารางเปรียบเทียบร่างแก้ไขเพิ่มเติม</strong> (ดาวน์โหลด เอกสารประกอบ)</p>
<p></p>
]]></description>
<pubDate>Mon, 08 Jan 2024 17:00:00 GMT</pubDate>
<guid isPermaLink="false">https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</guid>
<link>https://www.parliament.go.th/section77/survey_detail.php?id=336</link>
<author><![CDATA[นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับคณะ]]></author>
<category>เปิดรับความคิดเห็น</category>
<category>เสนอโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</category>
<category>เป็นร่างการเงิน</category>
</item>
</channel>
</rss>
|
mzwing
pushed a commit
to mzwing/RSSHub
that referenced
this pull request
Feb 2, 2024
* fix(docs): fix some working notOperational routes (DIYgod#14270) * chore(deps-dev): bump prettier from 3.2.2 to 3.2.4 (DIYgod#14273) * chore(deps-dev): bump prettier from 3.2.2 to 3.2.4 Bumps [prettier](https://github.com/prettier/prettier) from 3.2.2 to 3.2.4. - [Release notes](https://github.com/prettier/prettier/releases) - [Changelog](https://github.com/prettier/prettier/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](prettier/prettier@3.2.2...3.2.4) --- updated-dependencies: - dependency-name: prettier dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * style: auto format * style(eslint): add eslint-unicorn (DIYgod#14257) * style: add eslint-unicorn * style: fix unicorn/no-useless-spread * style: fix unicorn/no-useless-promise-resolve-reject * style: fix unicorn/no-for-loop * fix: codeql bad HTML filtering regexp * fix: codeql incomplete replace * fix: unicorn/no-abusive-eslint-disable * style: fix unicorn/no-new-array * style: fix unicorn/no-typeof-undefined * style: fix unicorn/no-zero-fractions * style: fix unicorn/no-empty-file * style: fix unicorn/prefer-date-now * revert: auto fix unicorn/prefer-switch on lib/v2/kuaidi100/utils.js * style: fix unicorn/prefer-array-find * style: fix unicorn/prefer-array-flat * style: fix unicorn/prefer-array-flat-map * style: fix unicorn/prefer-at * style: fix unicorn/prefer-string-starts-ends-with * style: fix unicorn/prefer-includes * fix: codeql URL substring sanitization * style: fix unicorn/prefer-optional-catch-binding * style: fix unicorn/catch-error-name * style: fix unicorn/escape-case * style: fix unicorn/prefer-native-coercion-functions * style: fix unicorn/prefer-regexp-test * style: fix unicorn/require-array-join-separator * style: fix unicorn/prefer-math-trunc * style: fix unicorn/prefer-negative-index * style: fix unicorn/prefer-dom-node-dataset * style: fix unicorn/prefer-dom-node-text-content * style: fix unicorn/prefer-query-selector * style: fix unicorn/no-array-for-each * style: fix unicorn/no-negated-condition * style: fix unicorn/prefer-add-event-listener * style: fix unicorn/import-style * style: fix prefer-regex-literals * style: disable unicorn/no-useless-switch-case * style: disable unicorn/text-encoding-identifier-case * style: fix unicorn/prefer-set-has * style: fix unicorn/prefer-spread * revert: auto fix on lib/routes/universities/ynnu/edu/base64.js * style: fix unicorn/no-useless-undefined * style: fix unicorn/no-array-push-push * style: fix unicorn/no-useless-undefined again * style: fix unicorn/no-lonely-if * style: fix unicorn/prefer-reflect-apply * style: fix unicorn/switch-case-braces * style: fix unicorn/prefer-switch * style: fix unicorn/prefer-array-some * fix: deepscan UNUSED_VAR_ASSIGN * style: fix unicorn/prefer-ternary * fix: follow-up of unicorn/prefer-ternary * revert: auto fix of unicorn/prefer-string-slice for substring() * style: disable unicorn/prefer-string-slice fix: auto fix slice over deprecated substr * style: fix unicorn/throw-new-error * style: fix unicorn/filename-case * test: fix dateParser renaming * style: fix unicorn/better-regex * style: fix unicorn/prefer-string-replace-all * fix(deps): add sanitize-html * style: fix no-prototype-builtins * style: fix unicorn/consistent-destructuring * style: fix unicorn/consistent-function-scoping * style: fix unicorn/prefer-regexp-test * style: fix unicorn/prefer-logical-operator-over-ternary * style: fix unicorn/no-array-callback-reference * style: add prefer-object-has-own * style: warn unicorn/no-empty-file * style: fix unicorn/prefer-number-properties * style: fix no-useless-undefined again * style: fix unicorn/numeric-separators-style * style: disable unicorn/no-array-callback-reference false postive with cheerio * style: auto format * chore(deps-dev): bump @stylistic/eslint-plugin-js from 1.5.3 to 1.5.4 (DIYgod#14274) * chore(deps-dev): bump @stylistic/eslint-plugin-js from 1.5.3 to 1.5.4 Bumps [@stylistic/eslint-plugin-js](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/tree/HEAD/packages/eslint-plugin-js) from 1.5.3 to 1.5.4. - [Release notes](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/releases) - [Commits](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/commits/v1.5.4/packages/eslint-plugin-js) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@stylistic/eslint-plugin-js" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * feat: Add Thai Department Of Lands e-LandsAnnouncement website (DIYgod#14245) * feat: Add Thai DOL website * feat: Add timezone, Radar for Thai DOL e-LandsAnnoucements * Update lib/v2/dol/maintainer.js * Update website/docs/routes/government.mdx * Update lib/v2/dol/radar.js --------- Co-authored-by: rrachasak <dev@rachasak.org> * style: auto format * chore(deps-dev): bump eslint-plugin-yml from 1.12.0 to 1.12.2 (DIYgod#14263) * chore(deps-dev): bump eslint-plugin-yml from 1.12.0 to 1.12.2 Bumps [eslint-plugin-yml](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml) from 1.12.0 to 1.12.2. - [Release notes](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml/releases) - [Changelog](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](ota-meshi/eslint-plugin-yml@v1.12.0...v1.12.2) --- updated-dependencies: - dependency-name: eslint-plugin-yml dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route): broken item URL in Google Scholar Author Citations (DIYgod#14277) * fix broken url in item fields * add author information in item field * add query parameter usage * fine-tune channel title&description * add maintainer * shorten the itemUrl definition --------- * style(eslint): add `default-case`: 1 `default-case-last`: 2 `unicorn/prefer-spread`: 2->1 `unicorn/prefer-switch`: 2->1 * chore(deps): bump pinyin-pro from 3.19.2 to 3.19.3 in /website (DIYgod#14278) Bumps [pinyin-pro](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro) from 3.19.2 to 3.19.3. - [Release notes](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/releases) - [Changelog](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](zh-lx/pinyin-pro@3.19.2...3.19.3) --- updated-dependencies: - dependency-name: pinyin-pro dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * feat(route): add TradingView Pine Script™ Release notes (DIYgod#14279) * style: auto format * feat(route): New route: MiYouShe - User Posts; Optimize the routing of MiYouShe | 新增路由:米游社 - 用户帖子;优化米游社路由 (DIYgod#14268) * fix(route): 修复 米游社 公告栏 template 错误 * feat(route): 新增 bing 搜索 * docs: Update other.mdx * docs: fix docs * feat(route): 新增 百度搜索 * fix(route): 修复 pubDate 解析错误 * fix(route): 优化 百度搜索的缓存,减轻反爬问题 * feat(route): 新增 360 搜索 * feat(route): 迁移 搜狗特色LOGO 到 v2 规范;添加 搜狗搜索 * fix(route): 百度搜索增加图片 * feat(route): 新增 Google Search * fix(route): 修复 百度搜索相关问题 * fix(route): 修复 Google 相关问题 * fix(route): 修复 360 搜索 * fix(route): 修复 搜狗搜索 * fix(route): 修复 await 问题 * fix: 移除 google sites * fix(route): 修复 缓存和过滤逻辑问题 * fix(route): 修复 360 搜索缺少 cookie 的问题 * fix(route): 修复 360 搜索 cookie 的问题 * feat(route): 移除 so.com 路由 * fix: merge conflict * feat(route): 新增路由:米游社 - 用户帖子;优化米游社路由 * fix(route): 修复 米游社用户帖子路由 * feat(route): 新增 米游社 用户关注路由 * fix(route): 修复 米游社帖子可能缺失封面的 bug;增加 点赞和评论数 * fix(route): 修复 米游社路由的规范和 bug --------- * fix: twitter changed the fields * fix: 修复界面标题重复 (DIYgod#14283) * fix(jiemian): 标题重复 * Update lib/v2/jiemian/lists.js --------- * feat(secrss): full text support (DIYgod#14284) * feat(secrss): full text support * fix(secrss): pubDate author category * fix(route): tencent gifs (DIYgod#14286) * feat(route): add 中国期货市场监控中心 (DIYgod#14287) * feat(route): add 中国期货市场监控中心 * Update lib/v2/cfmmc/radar.js --------- * style: auto format * feat(route): bjedu (DIYgod#14288) * chore(deps): bump twitter-api-v2 from 1.15.2 to 1.16.0 (DIYgod#14292) * chore(deps): bump twitter-api-v2 from 1.15.2 to 1.16.0 Bumps [twitter-api-v2](https://github.com/plhery/node-twitter-api-v2) from 1.15.2 to 1.16.0. - [Release notes](https://github.com/plhery/node-twitter-api-v2/releases) - [Changelog](https://github.com/PLhery/node-twitter-api-v2/blob/master/changelog.md) - [Commits](PLhery/node-twitter-api-v2@1.15.2...1.16.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: twitter-api-v2 dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump dotenv from 16.3.1 to 16.3.2 (DIYgod#14291) * chore(deps): bump dotenv from 16.3.1 to 16.3.2 Bumps [dotenv](https://github.com/motdotla/dotenv) from 16.3.1 to 16.3.2. - [Changelog](https://github.com/motdotla/dotenv/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](motdotla/dotenv@v16.3.1...v16.3.2) --- updated-dependencies: - dependency-name: dotenv dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.93.0 to 7.94.1 (DIYgod#14293) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.93.0 to 7.94.1 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.93.0 to 7.94.1. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](getsentry/sentry-javascript@7.93.0...7.94.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route/twitter/web-api): excludeReplies=1 (DIYgod#14290) Fixes DIYgod#14285 The postprocessing that removes replies accidentally removed all tweets except for the first one after the recent Twitter update. Signed-off-by: Rongrong <i@rong.moe> * fix(route): 金色财经 (DIYgod#14272) * fix(route): 金色财经 * style: lint * docs: move to finance --------- * fix(route/twitter): readability and RT link (DIYgod#14289) 1. Trim link pointing to the tweet itself (usually appears when the tweet is truncated). 2. Only insert <hr> when both showTimestampInDescription and readable are enabled. 3. Make RT links point to the RT itself, instead of the original tweet. Signed-off-by: Rongrong <i@rong.moe> * feat(route): laimanhua (DIYgod#14297) * fix: codeql incomplete multi-character sanitization (DIYgod#14298) * build(docker): don't copy docs * feat(route): scmp topics (DIYgod#14299) * feat(route): scmp topics * docs: remove /en from docs url * fix: router order * fix: http verb * fix: recover cntheory (DIYgod#14300) * fix: recover cntheory * fix: replaceAll * feat(route): keepass (DIYgod#14301) * fix(route): huanqiu (DIYgod#14304) * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.46 to 2.0.47 (DIYgod#14309) * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.46 to 2.0.47 Bumps [@tonyrl/rand-user-agent](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent) from 2.0.46 to 2.0.47. - [Release notes](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/releases) - [Commits](TonyRL/rand-user-agent@v2.0.46...v2.0.47) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@tonyrl/rand-user-agent" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump string-width from 7.0.0 to 7.1.0 (DIYgod#14308) * chore(deps-dev): bump string-width from 7.0.0 to 7.1.0 Bumps [string-width](https://github.com/sindresorhus/string-width) from 7.0.0 to 7.1.0. - [Release notes](https://github.com/sindresorhus/string-width/releases) - [Commits](sindresorhus/string-width@v7.0.0...v7.1.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: string-width dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump chrono-node from 2.7.4 to 2.7.5 (DIYgod#14307) * chore(deps): bump chrono-node from 2.7.4 to 2.7.5 Bumps [chrono-node](https://github.com/wanasit/chrono) from 2.7.4 to 2.7.5. - [Release notes](https://github.com/wanasit/chrono/releases) - [Commits](wanasit/chrono@v2.7.4...v2.7.5) --- updated-dependencies: - dependency-name: chrono-node dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump jsdom from 23.2.0 to 24.0.0 (DIYgod#14306) * chore(deps): bump jsdom from 23.2.0 to 24.0.0 Bumps [jsdom](https://github.com/jsdom/jsdom) from 23.2.0 to 24.0.0. - [Release notes](https://github.com/jsdom/jsdom/releases) - [Changelog](https://github.com/jsdom/jsdom/blob/main/Changelog.md) - [Commits](jsdom/jsdom@23.2.0...24.0.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: jsdom dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump @types/crypto-js from 4.2.1 to 4.2.2 (DIYgod#14305) * chore(deps-dev): bump @types/crypto-js from 4.2.1 to 4.2.2 Bumps [@types/crypto-js](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/crypto-js) from 4.2.1 to 4.2.2. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/crypto-js) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/crypto-js" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * feat(route): mrm (DIYgod#14311) * feat(route): mrm * fix: maintainer * feat(route): add 川流严选 (DIYgod#14303) * feat(route): add 川流严选 * fix: add null check * fix: add null check * style: auto format * fix(route/tencent): Circumvent video type link. (DIYgod#14302) * fix(route/tencent): Circumvent video type link. * . * chore: decrease `js_wait` in docs.rsshub.app.json * fix: use sanitize-html (DIYgod#14312) * fix: use sanitize-html * test: add brief test * chore(deps): bump dotenv from 16.3.2 to 16.4.0 (DIYgod#14316) * chore(deps): bump dotenv from 16.3.2 to 16.4.0 Bumps [dotenv](https://github.com/motdotla/dotenv) from 16.3.2 to 16.4.0. - [Changelog](https://github.com/motdotla/dotenv/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](motdotla/dotenv@v16.3.2...v16.4.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: dotenv dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.94.1 to 7.95.0 (DIYgod#14317) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.94.1 to 7.95.0 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.94.1 to 7.95.0. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](getsentry/sentry-javascript@7.94.1...7.95.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump dotenv from 16.4.0 to 16.4.1 (DIYgod#14320) * chore(deps): bump dotenv from 16.4.0 to 16.4.1 Bumps [dotenv](https://github.com/motdotla/dotenv) from 16.4.0 to 16.4.1. - [Changelog](https://github.com/motdotla/dotenv/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](motdotla/dotenv@v16.4.0...v16.4.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: dotenv dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump puppeteer from 21.7.0 to 21.9.0 (DIYgod#14321) * chore(deps): bump puppeteer from 21.7.0 to 21.9.0 Bumps [puppeteer](https://github.com/puppeteer/puppeteer) from 21.7.0 to 21.9.0. - [Release notes](https://github.com/puppeteer/puppeteer/releases) - [Changelog](https://github.com/puppeteer/puppeteer/blob/main/release-please-config.json) - [Commits](puppeteer/puppeteer@puppeteer-v21.7.0...puppeteer-v21.9.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: puppeteer dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * docs: update instance list * fix(route): Foresight News column (DIYgod#14322) * chore(deps): bump peter-evans/dockerhub-description from 3 to 4 (DIYgod#14323) Bumps [peter-evans/dockerhub-description](https://github.com/peter-evans/dockerhub-description) from 3 to 4. - [Release notes](https://github.com/peter-evans/dockerhub-description/releases) - [Commits](peter-evans/dockerhub-description@v3...v4) --- updated-dependencies: - dependency-name: peter-evans/dockerhub-description dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.95.0 to 7.98.0 (DIYgod#14325) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.95.0 to 7.98.0 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.95.0 to 7.98.0. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](getsentry/sentry-javascript@7.95.0...7.98.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump lru-cache from 10.1.0 to 10.2.0 (DIYgod#14324) * chore(deps): bump lru-cache from 10.1.0 to 10.2.0 Bumps [lru-cache](https://github.com/isaacs/node-lru-cache) from 10.1.0 to 10.2.0. - [Changelog](https://github.com/isaacs/node-lru-cache/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](isaacs/node-lru-cache@v10.1.0...v10.2.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: lru-cache dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump husky from 8.0.3 to 9.0.5 (DIYgod#14326) * chore(deps-dev): bump husky from 8.0.3 to 9.0.5 Bumps [husky](https://github.com/typicode/husky) from 8.0.3 to 9.0.5. - [Release notes](https://github.com/typicode/husky/releases) - [Commits](typicode/husky@v8.0.3...v9.0.5) --- updated-dependencies: - dependency-name: husky dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install * chore: migrate to husky v9 https://github.com/typicode/husky/releases/tag/v9.0.1 --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump the docusaurus group in /website with 7 updates (DIYgod#14328) Bumps the docusaurus group in /website with 7 updates: | Package | From | To | | --- | --- | --- | | [@docusaurus/core](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/plugin-client-redirects](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-plugin-client-redirects) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/plugin-pwa](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-plugin-pwa) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/preset-classic](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-preset-classic) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/module-type-aliases](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-module-type-aliases) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/tsconfig](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-tsconfig) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/types](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-types) | `3.1.0` | `3.1.1` | Updates `@docusaurus/core` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus) Updates `@docusaurus/plugin-client-redirects` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-plugin-client-redirects) Updates `@docusaurus/plugin-pwa` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-plugin-pwa) Updates `@docusaurus/preset-classic` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-preset-classic) Updates `@docusaurus/module-type-aliases` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-module-type-aliases) Updates `@docusaurus/tsconfig` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-tsconfig) Updates `@docusaurus/types` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-types) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@docusaurus/core" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/plugin-client-redirects" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/plugin-pwa" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/preset-classic" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/module-type-aliases" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/tsconfig" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/types" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @dipakparmar/docusaurus-plugin-umami in /website (DIYgod#14329) Bumps [@dipakparmar/docusaurus-plugin-umami](https://github.com/dipakparmar/docusaurus-plugin-umami) from 2.1.2 to 2.1.3. - [Release notes](https://github.com/dipakparmar/docusaurus-plugin-umami/releases) - [Commits](dipakparmar/docusaurus-plugin-umami@v2.1.2...v2.1.3) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@dipakparmar/docusaurus-plugin-umami" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.5 to 9.0.6 (DIYgod#14327) * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.5 to 9.0.6 Bumps [husky](https://github.com/typicode/husky) from 9.0.5 to 9.0.6. - [Release notes](https://github.com/typicode/husky/releases) - [Commits](typicode/husky@v9.0.5...v9.0.6) --- updated-dependencies: - dependency-name: husky dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route/twitter): reply URL; threads when excludeReplies=1 (DIYgod#14330) Without `legacy.id_str`, reply URLs would be constructed with conversion IDs, resulting in: - wrong URLs: pointing to the first tweet in the conversion (thread) - multiple items with the same guid: each tweet in a conversion (thread) had the same URL and thus guid The bug was caused by the widely used temporary fix (legacy.id_str || legacy.conversation_id_str) after Twitter had upgraded their API. Thus, it is quite easy to fix it: Refill legacy.id_str using the rest_id that resides in the container of legacy. With it fixed, take a step further to include threads when excludeReplies=1 (simulating the behavior of Twitter Web/App). Signed-off-by: Rongrong <i@rong.moe> * fix(route): Firefox release notes (DIYgod#14331) * fix javlibrary genre route because some spans may not have class attr in individual pages (DIYgod#14334) * fix(route): guanhai (DIYgod#14337) * feat: support twitter username and password login * feat: add TWITTER_AUTHENTICATION_SECRET * docs: add twitter config tips * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.47 to 2.0.48 (DIYgod#14342) * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.47 to 2.0.48 Bumps [@tonyrl/rand-user-agent](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent) from 2.0.47 to 2.0.48. - [Release notes](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/releases) - [Commits](TonyRL/rand-user-agent@v2.0.47...v2.0.48) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@tonyrl/rand-user-agent" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.6 to 9.0.7 (DIYgod#14343) * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.6 to 9.0.7 Bumps [husky](https://github.com/typicode/husky) from 9.0.6 to 9.0.7. - [Release notes](https://github.com/typicode/husky/releases) - [Commits](typicode/husky@v9.0.6...v9.0.7) --- updated-dependencies: - dependency-name: husky dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump nock from 13.5.0 to 13.5.1 (DIYgod#14344) * chore(deps-dev): bump nock from 13.5.0 to 13.5.1 Bumps [nock](https://github.com/nock/nock) from 13.5.0 to 13.5.1. - [Release notes](https://github.com/nock/nock/releases) - [Changelog](https://github.com/nock/nock/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](nock/nock@v13.5.0...v13.5.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: nock dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump puppeteer from 21.9.0 to 21.10.0 (DIYgod#14341) * chore(deps): bump puppeteer from 21.9.0 to 21.10.0 Bumps [puppeteer](https://github.com/puppeteer/puppeteer) from 21.9.0 to 21.10.0. - [Release notes](https://github.com/puppeteer/puppeteer/releases) - [Changelog](https://github.com/puppeteer/puppeteer/blob/main/release-please-config.json) - [Commits](puppeteer/puppeteer@puppeteer-v21.9.0...puppeteer-v21.10.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: puppeteer dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * feat(route): add 中国汽车工业协会统计信息网 (DIYgod#14339) * style: auto format * feat(modrinth): add project versions route (DIYgod#14340) * feat(modrinth): add project versions route * docs(modrinth): add project versions * fix(modrinth): query string wrong * feat(modrinth): add radar rule * fix(modrinth): using `searchParams` from `got` & single line type annotation * style: auto format * feat: Add Thai Parliament's Public hearing (according to Thai constitution section 77) (DIYgod#14260) * feat: Add Thai DOL website * feat: Add timezone, Radar for Thai DOL e-LandsAnnoucements * Update lib/v2/dol/maintainer.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * Update website/docs/routes/government.mdx Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * Update lib/v2/dol/radar.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * Feat: Init Thai Parliament section77 * Switch got to Puppetteer, add radar, doc * Fix DeepScan: Expression 'parseInt(maxPageElem.attr('id'))' always passes null check. Consider using 'isNaN()' instead if invalid number checking was intended. * Change NaN handling to satisfy DeepScan * Fix ESLint issues * Fix: Reject PuppeTeer, embrace got with ToughJar. Thk @TonyRL * Correct header style * perf: Remove fetching pagination. Only first page. * chore: Move original text out of header * Update lib/v2/parliament/radar.js --------- Co-authored-by: rrachasak <dev@rachasak.org> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.98.0 to 7.99.0 (DIYgod#14349) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.98.0 to 7.99.0 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.98.0 to 7.99.0. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](getsentry/sentry-javascript@7.98.0...7.99.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(modrinth): correct the radar rules for working with (DIYgod#14351) * fix(modrinth): match index of projects (DIYgod#14352) * feat: twitter login cache and logs * feat: twitter login error logs * fix: twitter login error logs * feat(route): add 中国汽车工业协会 (DIYgod#14356) * style: auto format * chore(deps): bump codecov/codecov-action from 3 to 4 (DIYgod#14358) Bumps [codecov/codecov-action](https://github.com/codecov/codecov-action) from 3 to 4. - [Release notes](https://github.com/codecov/codecov-action/releases) - [Changelog](https://github.com/codecov/codecov-action/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](codecov/codecov-action@v3...v4) --- updated-dependencies: - dependency-name: codecov/codecov-action dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump imapflow from 1.0.148 to 1.0.149 (DIYgod#14360) * chore(deps): bump imapflow from 1.0.148 to 1.0.149 Bumps [imapflow](https://github.com/postalsys/imapflow) from 1.0.148 to 1.0.149. - [Release notes](https://github.com/postalsys/imapflow/releases) - [Changelog](https://github.com/postalsys/imapflow/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](postalsys/imapflow@v1.0.148...v1.0.149) --- updated-dependencies: - dependency-name: imapflow dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump lint-staged from 15.2.0 to 15.2.1 (DIYgod#14359) * chore(deps-dev): bump lint-staged from 15.2.0 to 15.2.1 Bumps [lint-staged](https://github.com/okonet/lint-staged) from 15.2.0 to 15.2.1. - [Release notes](https://github.com/okonet/lint-staged/releases) - [Changelog](https://github.com/lint-staged/lint-staged/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](lint-staged/lint-staged@v15.2.0...v15.2.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: lint-staged dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix: replace weibo a href img (DIYgod#14354) * docs(modrinth): add query params & fix the route path (DIYgod#14362) * feat(route): 优化微博博主路由 (DIYgod#14365) * chore(deps-dev): bump @types/react from 18.2.48 to 18.2.51 in /website (DIYgod#14369) Bumps [@types/react](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/react) from 18.2.48 to 18.2.51. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/react) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/react" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump pinyin-pro from 3.19.3 to 3.19.4 in /website (DIYgod#14370) Bumps [pinyin-pro](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro) from 3.19.3 to 3.19.4. - [Release notes](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/releases) - [Changelog](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](zh-lx/pinyin-pro@3.19.3...3.19.4) --- updated-dependencies: - dependency-name: pinyin-pro dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Signed-off-by: Rongrong <i@rong.moe> Co-authored-by: JimenezLi <75196426+JimenezLi@users.noreply.github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> Co-authored-by: github-actions[bot] <41898282+github-actions[bot]@users.noreply.github.com> Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> Co-authored-by: Rachasak Ragkamnerd <itpcc@users.noreply.github.com> Co-authored-by: rrachasak <dev@rachasak.org> Co-authored-by: Kun CHEN <ck769098159@gmail.com> Co-authored-by: Ethan Shen <42264778+nczitzk@users.noreply.github.com> Co-authored-by: CaoMeiYouRen <40430746+CaoMeiYouRen@users.noreply.github.com> Co-authored-by: DIYgod <i@diygod.me> Co-authored-by: lidashuang <ldshuang@gmail.com> Co-authored-by: SunBK201 <sunbk201gm@gmail.com> Co-authored-by: Rongrong <i@rong.moe> Co-authored-by: Andvari <31068367+dzx-dzx@users.noreply.github.com> Co-authored-by: KTachibanaM <whj19931115@gmail.com> Co-authored-by: SettingDust <settingdust@gmail.com> Co-authored-by: tmr <32825326+ttttmr@users.noreply.github.com>
Sikcert
pushed a commit
to Sikcert/RSSHub
that referenced
this pull request
Feb 28, 2024
* docs: Update InstanceList.tsx (#14244) Add instance hosted by Kai. * feat(route): recover kuwaitlocal agirls qianp taiwannews jiaoliudao (#14247) * fix: recover kuwaitlocal * fix: recover agirls * fix: recover qianp * fix: recover taiwannews * fix: recover hket * fix: recover jiaoliudao * fix: qianp * fix: deepscan issue * feat(route): zhihu xhu posts (#14246) * feat: recover shuiguopai (#14248) * chore(deps-dev): bump @types/react from 18.2.47 to 18.2.48 in /website (#14255) Bumps [@types/react](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/react) from 18.2.47 to 18.2.48. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/react) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/react" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump pinyin-pro from 3.19.0 to 3.19.2 in /website (#14256) Bumps [pinyin-pro](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro) from 3.19.0 to 3.19.2. - [Release notes](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/releases) - [Changelog](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/commits/3.19.2) --- updated-dependencies: - dependency-name: pinyin-pro dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump supertest from 6.3.3 to 6.3.4 (#14250) * chore(deps-dev): bump supertest from 6.3.3 to 6.3.4 Bumps [supertest](https://github.com/ladjs/supertest) from 6.3.3 to 6.3.4. - [Release notes](https://github.com/ladjs/supertest/releases) - [Commits](https://github.com/ladjs/supertest/compare/v6.3.3...v6.3.4) --- updated-dependencies: - dependency-name: supertest dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump eslint-plugin-yml from 1.11.0 to 1.12.0 (#14251) * chore(deps-dev): bump eslint-plugin-yml from 1.11.0 to 1.12.0 Bumps [eslint-plugin-yml](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml) from 1.11.0 to 1.12.0. - [Release notes](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml/releases) - [Changelog](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml/compare/v1.11.0...v1.12.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: eslint-plugin-yml dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump prettier from 3.2.1 to 3.2.2 (#14252) * chore(deps-dev): bump prettier from 3.2.1 to 3.2.2 Bumps [prettier](https://github.com/prettier/prettier) from 3.2.1 to 3.2.2. - [Release notes](https://github.com/prettier/prettier/releases) - [Changelog](https://github.com/prettier/prettier/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/prettier/prettier/compare/3.2.1...3.2.2) --- updated-dependencies: - dependency-name: prettier dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.45 to 2.0.46 (#14253) * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.45 to 2.0.46 Bumps [@tonyrl/rand-user-agent](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent) from 2.0.45 to 2.0.46. - [Release notes](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/releases) - [Commits](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/compare/v2.0.45...v2.0.46) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@tonyrl/rand-user-agent" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump nock from 13.4.0 to 13.5.0 (#14254) * chore(deps-dev): bump nock from 13.4.0 to 13.5.0 Bumps [nock](https://github.com/nock/nock) from 13.4.0 to 13.5.0. - [Release notes](https://github.com/nock/nock/releases) - [Changelog](https://github.com/nock/nock/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/nock/nock/compare/v13.4.0...v13.5.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: nock dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * docs: Add deploy to Sealos (#14259) * fix(route): coolapk publish time (#14261) * chore(deps-dev): bump nodemon from 3.0.2 to 3.0.3 (#14264) * chore(deps-dev): bump nodemon from 3.0.2 to 3.0.3 Bumps [nodemon](https://github.com/remy/nodemon) from 3.0.2 to 3.0.3. - [Release notes](https://github.com/remy/nodemon/releases) - [Commits](https://github.com/remy/nodemon/compare/v3.0.2...v3.0.3) --- updated-dependencies: - dependency-name: nodemon dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump imapflow from 1.0.147 to 1.0.148 (#14265) * chore(deps): bump imapflow from 1.0.147 to 1.0.148 Bumps [imapflow](https://github.com/postalsys/imapflow) from 1.0.147 to 1.0.148. - [Release notes](https://github.com/postalsys/imapflow/releases) - [Changelog](https://github.com/postalsys/imapflow/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/postalsys/imapflow/compare/v1.0.147...v1.0.148) --- updated-dependencies: - dependency-name: imapflow dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump googleapis from 130.0.0 to 131.0.0 (#14266) * chore(deps): bump googleapis from 130.0.0 to 131.0.0 Bumps [googleapis](https://github.com/googleapis/google-api-nodejs-client) from 130.0.0 to 131.0.0. - [Release notes](https://github.com/googleapis/google-api-nodejs-client/releases) - [Changelog](https://github.com/googleapis/google-api-nodejs-client/blob/main/release-please-config.json) - [Commits](https://github.com/googleapis/google-api-nodejs-client/compare/googleapis-v130.0.0...googleapis-v131.0.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: googleapis dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(docs): fix some working notOperational routes (#14270) * chore(deps-dev): bump prettier from 3.2.2 to 3.2.4 (#14273) * chore(deps-dev): bump prettier from 3.2.2 to 3.2.4 Bumps [prettier](https://github.com/prettier/prettier) from 3.2.2 to 3.2.4. - [Release notes](https://github.com/prettier/prettier/releases) - [Changelog](https://github.com/prettier/prettier/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/prettier/prettier/compare/3.2.2...3.2.4) --- updated-dependencies: - dependency-name: prettier dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * style: auto format * style(eslint): add eslint-unicorn (#14257) * style: add eslint-unicorn * style: fix unicorn/no-useless-spread * style: fix unicorn/no-useless-promise-resolve-reject * style: fix unicorn/no-for-loop * fix: codeql bad HTML filtering regexp * fix: codeql incomplete replace * fix: unicorn/no-abusive-eslint-disable * style: fix unicorn/no-new-array * style: fix unicorn/no-typeof-undefined * style: fix unicorn/no-zero-fractions * style: fix unicorn/no-empty-file * style: fix unicorn/prefer-date-now * revert: auto fix unicorn/prefer-switch on lib/v2/kuaidi100/utils.js * style: fix unicorn/prefer-array-find * style: fix unicorn/prefer-array-flat * style: fix unicorn/prefer-array-flat-map * style: fix unicorn/prefer-at * style: fix unicorn/prefer-string-starts-ends-with * style: fix unicorn/prefer-includes * fix: codeql URL substring sanitization * style: fix unicorn/prefer-optional-catch-binding * style: fix unicorn/catch-error-name * style: fix unicorn/escape-case * style: fix unicorn/prefer-native-coercion-functions * style: fix unicorn/prefer-regexp-test * style: fix unicorn/require-array-join-separator * style: fix unicorn/prefer-math-trunc * style: fix unicorn/prefer-negative-index * style: fix unicorn/prefer-dom-node-dataset * style: fix unicorn/prefer-dom-node-text-content * style: fix unicorn/prefer-query-selector * style: fix unicorn/no-array-for-each * style: fix unicorn/no-negated-condition * style: fix unicorn/prefer-add-event-listener * style: fix unicorn/import-style * style: fix prefer-regex-literals * style: disable unicorn/no-useless-switch-case * style: disable unicorn/text-encoding-identifier-case * style: fix unicorn/prefer-set-has * style: fix unicorn/prefer-spread * revert: auto fix on lib/routes/universities/ynnu/edu/base64.js * style: fix unicorn/no-useless-undefined * style: fix unicorn/no-array-push-push * style: fix unicorn/no-useless-undefined again * style: fix unicorn/no-lonely-if * style: fix unicorn/prefer-reflect-apply * style: fix unicorn/switch-case-braces * style: fix unicorn/prefer-switch * style: fix unicorn/prefer-array-some * fix: deepscan UNUSED_VAR_ASSIGN * style: fix unicorn/prefer-ternary * fix: follow-up of unicorn/prefer-ternary * revert: auto fix of unicorn/prefer-string-slice for substring() * style: disable unicorn/prefer-string-slice fix: auto fix slice over deprecated substr * style: fix unicorn/throw-new-error * style: fix unicorn/filename-case * test: fix dateParser renaming * style: fix unicorn/better-regex * style: fix unicorn/prefer-string-replace-all * fix(deps): add sanitize-html * style: fix no-prototype-builtins * style: fix unicorn/consistent-destructuring * style: fix unicorn/consistent-function-scoping * style: fix unicorn/prefer-regexp-test * style: fix unicorn/prefer-logical-operator-over-ternary * style: fix unicorn/no-array-callback-reference * style: add prefer-object-has-own * style: warn unicorn/no-empty-file * style: fix unicorn/prefer-number-properties * style: fix no-useless-undefined again * style: fix unicorn/numeric-separators-style * style: disable unicorn/no-array-callback-reference false postive with cheerio * style: auto format * chore(deps-dev): bump @stylistic/eslint-plugin-js from 1.5.3 to 1.5.4 (#14274) * chore(deps-dev): bump @stylistic/eslint-plugin-js from 1.5.3 to 1.5.4 Bumps [@stylistic/eslint-plugin-js](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/tree/HEAD/packages/eslint-plugin-js) from 1.5.3 to 1.5.4. - [Release notes](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/releases) - [Commits](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/commits/v1.5.4/packages/eslint-plugin-js) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@stylistic/eslint-plugin-js" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * feat: Add Thai Department Of Lands e-LandsAnnouncement website (#14245) * feat: Add Thai DOL website * feat: Add timezone, Radar for Thai DOL e-LandsAnnoucements * Update lib/v2/dol/maintainer.js * Update website/docs/routes/government.mdx * Update lib/v2/dol/radar.js --------- Co-authored-by: rrachasak <dev@rachasak.org> * style: auto format * chore(deps-dev): bump eslint-plugin-yml from 1.12.0 to 1.12.2 (#14263) * chore(deps-dev): bump eslint-plugin-yml from 1.12.0 to 1.12.2 Bumps [eslint-plugin-yml](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml) from 1.12.0 to 1.12.2. - [Release notes](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml/releases) - [Changelog](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/ota-meshi/eslint-plugin-yml/compare/v1.12.0...v1.12.2) --- updated-dependencies: - dependency-name: eslint-plugin-yml dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route): broken item URL in Google Scholar Author Citations (#14277) * fix broken url in item fields * add author information in item field * add query parameter usage * fine-tune channel title&description * add maintainer * shorten the itemUrl definition --------- * style(eslint): add `default-case`: 1 `default-case-last`: 2 `unicorn/prefer-spread`: 2->1 `unicorn/prefer-switch`: 2->1 * chore(deps): bump pinyin-pro from 3.19.2 to 3.19.3 in /website (#14278) Bumps [pinyin-pro](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro) from 3.19.2 to 3.19.3. - [Release notes](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/releases) - [Changelog](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/compare/3.19.2...3.19.3) --- updated-dependencies: - dependency-name: pinyin-pro dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * feat(route): add TradingView Pine Script™ Release notes (#14279) * style: auto format * feat(route): New route: MiYouShe - User Posts; Optimize the routing of MiYouShe | 新增路由:米游社 - 用户帖子;优化米游社路由 (#14268) * fix(route): 修复 米游社 公告栏 template 错误 * feat(route): 新增 bing 搜索 * docs: Update other.mdx * docs: fix docs * feat(route): 新增 百度搜索 * fix(route): 修复 pubDate 解析错误 * fix(route): 优化 百度搜索的缓存,减轻反爬问题 * feat(route): 新增 360 搜索 * feat(route): 迁移 搜狗特色LOGO 到 v2 规范;添加 搜狗搜索 * fix(route): 百度搜索增加图片 * feat(route): 新增 Google Search * fix(route): 修复 百度搜索相关问题 * fix(route): 修复 Google 相关问题 * fix(route): 修复 360 搜索 * fix(route): 修复 搜狗搜索 * fix(route): 修复 await 问题 * fix: 移除 google sites * fix(route): 修复 缓存和过滤逻辑问题 * fix(route): 修复 360 搜索缺少 cookie 的问题 * fix(route): 修复 360 搜索 cookie 的问题 * feat(route): 移除 so.com 路由 * fix: merge conflict * feat(route): 新增路由:米游社 - 用户帖子;优化米游社路由 * fix(route): 修复 米游社用户帖子路由 * feat(route): 新增 米游社 用户关注路由 * fix(route): 修复 米游社帖子可能缺失封面的 bug;增加 点赞和评论数 * fix(route): 修复 米游社路由的规范和 bug --------- * fix: twitter changed the fields * fix: 修复界面标题重复 (#14283) * fix(jiemian): 标题重复 * Update lib/v2/jiemian/lists.js --------- * feat(secrss): full text support (#14284) * feat(secrss): full text support * fix(secrss): pubDate author category * fix(route): tencent gifs (#14286) * feat(route): add 中国期货市场监控中心 (#14287) * feat(route): add 中国期货市场监控中心 * Update lib/v2/cfmmc/radar.js --------- * style: auto format * feat(route): bjedu (#14288) * chore(deps): bump twitter-api-v2 from 1.15.2 to 1.16.0 (#14292) * chore(deps): bump twitter-api-v2 from 1.15.2 to 1.16.0 Bumps [twitter-api-v2](https://github.com/plhery/node-twitter-api-v2) from 1.15.2 to 1.16.0. - [Release notes](https://github.com/plhery/node-twitter-api-v2/releases) - [Changelog](https://github.com/PLhery/node-twitter-api-v2/blob/master/changelog.md) - [Commits](https://github.com/plhery/node-twitter-api-v2/compare/1.15.2...1.16.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: twitter-api-v2 dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump dotenv from 16.3.1 to 16.3.2 (#14291) * chore(deps): bump dotenv from 16.3.1 to 16.3.2 Bumps [dotenv](https://github.com/motdotla/dotenv) from 16.3.1 to 16.3.2. - [Changelog](https://github.com/motdotla/dotenv/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/motdotla/dotenv/compare/v16.3.1...v16.3.2) --- updated-dependencies: - dependency-name: dotenv dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.93.0 to 7.94.1 (#14293) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.93.0 to 7.94.1 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.93.0 to 7.94.1. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/compare/7.93.0...7.94.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route/twitter/web-api): excludeReplies=1 (#14290) Fixes #14285 The postprocessing that removes replies accidentally removed all tweets except for the first one after the recent Twitter update. Signed-off-by: Rongrong <i@rong.moe> * fix(route): 金色财经 (#14272) * fix(route): 金色财经 * style: lint * docs: move to finance --------- * fix(route/twitter): readability and RT link (#14289) 1. Trim link pointing to the tweet itself (usually appears when the tweet is truncated). 2. Only insert <hr> when both showTimestampInDescription and readable are enabled. 3. Make RT links point to the RT itself, instead of the original tweet. Signed-off-by: Rongrong <i@rong.moe> * feat(route): laimanhua (#14297) * fix: codeql incomplete multi-character sanitization (#14298) * build(docker): don't copy docs * feat(route): scmp topics (#14299) * feat(route): scmp topics * docs: remove /en from docs url * fix: router order * fix: http verb * fix: recover cntheory (#14300) * fix: recover cntheory * fix: replaceAll * feat(route): keepass (#14301) * fix(route): huanqiu (#14304) * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.46 to 2.0.47 (#14309) * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.46 to 2.0.47 Bumps [@tonyrl/rand-user-agent](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent) from 2.0.46 to 2.0.47. - [Release notes](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/releases) - [Commits](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/compare/v2.0.46...v2.0.47) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@tonyrl/rand-user-agent" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump string-width from 7.0.0 to 7.1.0 (#14308) * chore(deps-dev): bump string-width from 7.0.0 to 7.1.0 Bumps [string-width](https://github.com/sindresorhus/string-width) from 7.0.0 to 7.1.0. - [Release notes](https://github.com/sindresorhus/string-width/releases) - [Commits](https://github.com/sindresorhus/string-width/compare/v7.0.0...v7.1.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: string-width dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump chrono-node from 2.7.4 to 2.7.5 (#14307) * chore(deps): bump chrono-node from 2.7.4 to 2.7.5 Bumps [chrono-node](https://github.com/wanasit/chrono) from 2.7.4 to 2.7.5. - [Release notes](https://github.com/wanasit/chrono/releases) - [Commits](https://github.com/wanasit/chrono/compare/v2.7.4...v2.7.5) --- updated-dependencies: - dependency-name: chrono-node dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump jsdom from 23.2.0 to 24.0.0 (#14306) * chore(deps): bump jsdom from 23.2.0 to 24.0.0 Bumps [jsdom](https://github.com/jsdom/jsdom) from 23.2.0 to 24.0.0. - [Release notes](https://github.com/jsdom/jsdom/releases) - [Changelog](https://github.com/jsdom/jsdom/blob/main/Changelog.md) - [Commits](https://github.com/jsdom/jsdom/compare/23.2.0...24.0.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: jsdom dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump @types/crypto-js from 4.2.1 to 4.2.2 (#14305) * chore(deps-dev): bump @types/crypto-js from 4.2.1 to 4.2.2 Bumps [@types/crypto-js](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/crypto-js) from 4.2.1 to 4.2.2. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/crypto-js) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/crypto-js" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * feat(route): mrm (#14311) * feat(route): mrm * fix: maintainer * feat(route): add 川流严选 (#14303) * feat(route): add 川流严选 * fix: add null check * fix: add null check * style: auto format * fix(route/tencent): Circumvent video type link. (#14302) * fix(route/tencent): Circumvent video type link. * . * chore: decrease `js_wait` in docs.rsshub.app.json * fix: use sanitize-html (#14312) * fix: use sanitize-html * test: add brief test * chore(deps): bump dotenv from 16.3.2 to 16.4.0 (#14316) * chore(deps): bump dotenv from 16.3.2 to 16.4.0 Bumps [dotenv](https://github.com/motdotla/dotenv) from 16.3.2 to 16.4.0. - [Changelog](https://github.com/motdotla/dotenv/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/motdotla/dotenv/compare/v16.3.2...v16.4.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: dotenv dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.94.1 to 7.95.0 (#14317) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.94.1 to 7.95.0 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.94.1 to 7.95.0. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/compare/7.94.1...7.95.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump dotenv from 16.4.0 to 16.4.1 (#14320) * chore(deps): bump dotenv from 16.4.0 to 16.4.1 Bumps [dotenv](https://github.com/motdotla/dotenv) from 16.4.0 to 16.4.1. - [Changelog](https://github.com/motdotla/dotenv/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/motdotla/dotenv/compare/v16.4.0...v16.4.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: dotenv dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump puppeteer from 21.7.0 to 21.9.0 (#14321) * chore(deps): bump puppeteer from 21.7.0 to 21.9.0 Bumps [puppeteer](https://github.com/puppeteer/puppeteer) from 21.7.0 to 21.9.0. - [Release notes](https://github.com/puppeteer/puppeteer/releases) - [Changelog](https://github.com/puppeteer/puppeteer/blob/main/release-please-config.json) - [Commits](https://github.com/puppeteer/puppeteer/compare/puppeteer-v21.7.0...puppeteer-v21.9.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: puppeteer dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * docs: update instance list * fix(route): Foresight News column (#14322) * chore(deps): bump peter-evans/dockerhub-description from 3 to 4 (#14323) Bumps [peter-evans/dockerhub-description](https://github.com/peter-evans/dockerhub-description) from 3 to 4. - [Release notes](https://github.com/peter-evans/dockerhub-description/releases) - [Commits](https://github.com/peter-evans/dockerhub-description/compare/v3...v4) --- updated-dependencies: - dependency-name: peter-evans/dockerhub-description dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.95.0 to 7.98.0 (#14325) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.95.0 to 7.98.0 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.95.0 to 7.98.0. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/compare/7.95.0...7.98.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump lru-cache from 10.1.0 to 10.2.0 (#14324) * chore(deps): bump lru-cache from 10.1.0 to 10.2.0 Bumps [lru-cache](https://github.com/isaacs/node-lru-cache) from 10.1.0 to 10.2.0. - [Changelog](https://github.com/isaacs/node-lru-cache/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/isaacs/node-lru-cache/compare/v10.1.0...v10.2.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: lru-cache dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump husky from 8.0.3 to 9.0.5 (#14326) * chore(deps-dev): bump husky from 8.0.3 to 9.0.5 Bumps [husky](https://github.com/typicode/husky) from 8.0.3 to 9.0.5. - [Release notes](https://github.com/typicode/husky/releases) - [Commits](https://github.com/typicode/husky/compare/v8.0.3...v9.0.5) --- updated-dependencies: - dependency-name: husky dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install * chore: migrate to husky v9 https://github.com/typicode/husky/releases/tag/v9.0.1 --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump the docusaurus group in /website with 7 updates (#14328) Bumps the docusaurus group in /website with 7 updates: | Package | From | To | | --- | --- | --- | | [@docusaurus/core](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/plugin-client-redirects](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-plugin-client-redirects) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/plugin-pwa](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-plugin-pwa) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/preset-classic](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-preset-classic) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/module-type-aliases](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-module-type-aliases) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/tsconfig](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-tsconfig) | `3.1.0` | `3.1.1` | | [@docusaurus/types](https://github.com/facebook/docusaurus/tree/HEAD/packages/docusaurus-types) | `3.1.0` | `3.1.1` | Updates `@docusaurus/core` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus) Updates `@docusaurus/plugin-client-redirects` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-plugin-client-redirects) Updates `@docusaurus/plugin-pwa` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-plugin-pwa) Updates `@docusaurus/preset-classic` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-preset-classic) Updates `@docusaurus/module-type-aliases` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-module-type-aliases) Updates `@docusaurus/tsconfig` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-tsconfig) Updates `@docusaurus/types` from 3.1.0 to 3.1.1 - [Release notes](https://github.com/facebook/docusaurus/releases) - [Changelog](https://github.com/facebook/docusaurus/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/facebook/docusaurus/commits/v3.1.1/packages/docusaurus-types) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@docusaurus/core" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/plugin-client-redirects" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/plugin-pwa" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/preset-classic" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/module-type-aliases" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/tsconfig" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus - dependency-name: "@docusaurus/types" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch dependency-group: docusaurus ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @dipakparmar/docusaurus-plugin-umami in /website (#14329) Bumps [@dipakparmar/docusaurus-plugin-umami](https://github.com/dipakparmar/docusaurus-plugin-umami) from 2.1.2 to 2.1.3. - [Release notes](https://github.com/dipakparmar/docusaurus-plugin-umami/releases) - [Commits](https://github.com/dipakparmar/docusaurus-plugin-umami/compare/v2.1.2...v2.1.3) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@dipakparmar/docusaurus-plugin-umami" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.5 to 9.0.6 (#14327) * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.5 to 9.0.6 Bumps [husky](https://github.com/typicode/husky) from 9.0.5 to 9.0.6. - [Release notes](https://github.com/typicode/husky/releases) - [Commits](https://github.com/typicode/husky/compare/v9.0.5...v9.0.6) --- updated-dependencies: - dependency-name: husky dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route/twitter): reply URL; threads when excludeReplies=1 (#14330) Without `legacy.id_str`, reply URLs would be constructed with conversion IDs, resulting in: - wrong URLs: pointing to the first tweet in the conversion (thread) - multiple items with the same guid: each tweet in a conversion (thread) had the same URL and thus guid The bug was caused by the widely used temporary fix (legacy.id_str || legacy.conversation_id_str) after Twitter had upgraded their API. Thus, it is quite easy to fix it: Refill legacy.id_str using the rest_id that resides in the container of legacy. With it fixed, take a step further to include threads when excludeReplies=1 (simulating the behavior of Twitter Web/App). Signed-off-by: Rongrong <i@rong.moe> * fix(route): Firefox release notes (#14331) * fix javlibrary genre route because some spans may not have class attr in individual pages (#14334) * fix(route): guanhai (#14337) * feat: support twitter username and password login * feat: add TWITTER_AUTHENTICATION_SECRET * docs: add twitter config tips * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.47 to 2.0.48 (#14342) * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.47 to 2.0.48 Bumps [@tonyrl/rand-user-agent](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent) from 2.0.47 to 2.0.48. - [Release notes](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/releases) - [Commits](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/compare/v2.0.47...v2.0.48) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@tonyrl/rand-user-agent" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.6 to 9.0.7 (#14343) * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.6 to 9.0.7 Bumps [husky](https://github.com/typicode/husky) from 9.0.6 to 9.0.7. - [Release notes](https://github.com/typicode/husky/releases) - [Commits](https://github.com/typicode/husky/compare/v9.0.6...v9.0.7) --- updated-dependencies: - dependency-name: husky dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump nock from 13.5.0 to 13.5.1 (#14344) * chore(deps-dev): bump nock from 13.5.0 to 13.5.1 Bumps [nock](https://github.com/nock/nock) from 13.5.0 to 13.5.1. - [Release notes](https://github.com/nock/nock/releases) - [Changelog](https://github.com/nock/nock/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/nock/nock/compare/v13.5.0...v13.5.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: nock dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump puppeteer from 21.9.0 to 21.10.0 (#14341) * chore(deps): bump puppeteer from 21.9.0 to 21.10.0 Bumps [puppeteer](https://github.com/puppeteer/puppeteer) from 21.9.0 to 21.10.0. - [Release notes](https://github.com/puppeteer/puppeteer/releases) - [Changelog](https://github.com/puppeteer/puppeteer/blob/main/release-please-config.json) - [Commits](https://github.com/puppeteer/puppeteer/compare/puppeteer-v21.9.0...puppeteer-v21.10.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: puppeteer dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * feat(route): add 中国汽车工业协会统计信息网 (#14339) * style: auto format * feat(modrinth): add project versions route (#14340) * feat(modrinth): add project versions route * docs(modrinth): add project versions * fix(modrinth): query string wrong * feat(modrinth): add radar rule * fix(modrinth): using `searchParams` from `got` & single line type annotation * style: auto format * feat: Add Thai Parliament's Public hearing (according to Thai constitution section 77) (#14260) * feat: Add Thai DOL website * feat: Add timezone, Radar for Thai DOL e-LandsAnnoucements * Update lib/v2/dol/maintainer.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * Update website/docs/routes/government.mdx Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * Update lib/v2/dol/radar.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * Feat: Init Thai Parliament section77 * Switch got to Puppetteer, add radar, doc * Fix DeepScan: Expression 'parseInt(maxPageElem.attr('id'))' always passes null check. Consider using 'isNaN()' instead if invalid number checking was intended. * Change NaN handling to satisfy DeepScan * Fix ESLint issues * Fix: Reject PuppeTeer, embrace got with ToughJar. Thk @TonyRL * Correct header style * perf: Remove fetching pagination. Only first page. * chore: Move original text out of header * Update lib/v2/parliament/radar.js --------- Co-authored-by: rrachasak <dev@rachasak.org> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.98.0 to 7.99.0 (#14349) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.98.0 to 7.99.0 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.98.0 to 7.99.0. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/compare/7.98.0...7.99.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(modrinth): correct the radar rules for working with (#14351) * fix(modrinth): match index of projects (#14352) * feat: twitter login cache and logs * feat: twitter login error logs * fix: twitter login error logs * feat(route): add 中国汽车工业协会 (#14356) * style: auto format * chore(deps): bump codecov/codecov-action from 3 to 4 (#14358) Bumps [codecov/codecov-action](https://github.com/codecov/codecov-action) from 3 to 4. - [Release notes](https://github.com/codecov/codecov-action/releases) - [Changelog](https://github.com/codecov/codecov-action/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/codecov/codecov-action/compare/v3...v4) --- updated-dependencies: - dependency-name: codecov/codecov-action dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump imapflow from 1.0.148 to 1.0.149 (#14360) * chore(deps): bump imapflow from 1.0.148 to 1.0.149 Bumps [imapflow](https://github.com/postalsys/imapflow) from 1.0.148 to 1.0.149. - [Release notes](https://github.com/postalsys/imapflow/releases) - [Changelog](https://github.com/postalsys/imapflow/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/postalsys/imapflow/compare/v1.0.148...v1.0.149) --- updated-dependencies: - dependency-name: imapflow dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump lint-staged from 15.2.0 to 15.2.1 (#14359) * chore(deps-dev): bump lint-staged from 15.2.0 to 15.2.1 Bumps [lint-staged](https://github.com/okonet/lint-staged) from 15.2.0 to 15.2.1. - [Release notes](https://github.com/okonet/lint-staged/releases) - [Changelog](https://github.com/lint-staged/lint-staged/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/okonet/lint-staged/compare/v15.2.0...v15.2.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: lint-staged dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix: replace weibo a href img (#14354) * docs(modrinth): add query params & fix the route path (#14362) * feat(route): 优化微博博主路由 (#14365) * chore(deps-dev): bump @types/react from 18.2.48 to 18.2.51 in /website (#14369) Bumps [@types/react](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/react) from 18.2.48 to 18.2.51. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/react) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/react" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump pinyin-pro from 3.19.3 to 3.19.4 in /website (#14370) Bumps [pinyin-pro](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro) from 3.19.3 to 3.19.4. - [Release notes](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/releases) - [Changelog](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/compare/3.19.3...3.19.4) --- updated-dependencies: - dependency-name: pinyin-pro dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump mailparser from 3.6.6 to 3.6.7 (#14371) * chore(deps): bump mailparser from 3.6.6 to 3.6.7 Bumps [mailparser](https://github.com/nodemailer/mailparser) from 3.6.6 to 3.6.7. - [Release notes](https://github.com/nodemailer/mailparser/releases) - [Changelog](https://github.com/nodemailer/mailparser/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/nodemailer/mailparser/compare/v3.6.6...v3.6.7) --- updated-dependencies: - dependency-name: mailparser dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.7 to 9.0.10 (#14372) * chore(deps-dev): bump husky from 9.0.7 to 9.0.10 Bumps [husky](https://github.com/typicode/husky) from 9.0.7 to 9.0.10. - [Release notes](https://github.com/typicode/husky/releases) - [Commits](https://github.com/typicode/husky/compare/v9.0.7...v9.0.10) --- updated-dependencies: - dependency-name: husky dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump @vercel/nft from 0.26.2 to 0.26.3 (#14373) * chore(deps-dev): bump @vercel/nft from 0.26.2 to 0.26.3 Bumps [@vercel/nft](https://github.com/vercel/nft) from 0.26.2 to 0.26.3. - [Release notes](https://github.com/vercel/nft/releases) - [Commits](https://github.com/vercel/nft/compare/0.26.2...0.26.3) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@vercel/nft" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * style: auto format * feat(route): add 我不是盐神 (#14348) * Create common.js * Create maintainer.js * Create router.js * Create radar.js * Update common.js A space is add after ','. * Update common.js A space is add after ','. * Update common.js * Update radar.js * Update new-media.mdx * Update maintainer.js * Update radar.js * Update radar.js * Update radar.js * style: auto format * chore(deps): bump imapflow from 1.0.149 to 1.0.150 (#14381) * chore(deps): bump imapflow from 1.0.149 to 1.0.150 Bumps [imapflow](https://github.com/postalsys/imapflow) from 1.0.149 to 1.0.150. - [Release notes](https://github.com/postalsys/imapflow/releases) - [Changelog](https://github.com/postalsys/imapflow/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/postalsys/imapflow/compare/v1.0.149...v1.0.150) --- updated-dependencies: - dependency-name: imapflow dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(modrinth): using path param instead of query string since the que… (#14367) * fix(modrinth): using path param instead of query string since the query won't affect cached result * fix(modrinth): use `URLSearchParams` instead of querystring * docs(modrinth): typo * fix(modrinth): avoid empty array query when no value --------- * chore(deps): bump puppeteer from 21.10.0 to 21.11.0 (#14382) * chore(deps): bump puppeteer from 21.10.0 to 21.11.0 Bumps [puppeteer](https://github.com/puppeteer/puppeteer) from 21.10.0 to 21.11.0. - [Release notes](https://github.com/puppeteer/puppeteer/releases) - [Changelog](https://github.com/puppeteer/puppeteer/blob/main/release-please-config.json) - [Commits](https://github.com/puppeteer/puppeteer/compare/puppeteer-v21.10.0...puppeteer-v21.11.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: puppeteer dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route): 新华网新华社新闻 (#14390) * feat: make url clickable (#14353) * feat(route): Optimize the title of Caixin Weekly | 优化《财新周刊》标题 (#14396) * 优化标题 * feat(route): Optimize the title of Caixin Weekly * style: auto format * feat(route): Weibo Routing Add User Latest Follow Timeline | 微博路由 添加 用户最新关注时间线 (#14385) * feat(route): 微博路由 添加 用户最新关注时间线 * fix(route): 优化 微博最新关注时间线 的标题显示 --------- * style: auto format * fix(route): freewechat link (#14397) * chore: bump docs scraper js_wait * fix(route): 艾瑞周度市场观察 (#14400) * chore(deps-dev): bump @types/react from 18.2.51 to 18.2.54 in /website (#14401) Bumps [@types/react](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/react) from 18.2.51 to 18.2.54. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/react) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/react" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump pinyin-pro from 3.19.4 to 3.19.5 in /website (#14402) Bumps [pinyin-pro](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro) from 3.19.4 to 3.19.5. - [Release notes](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/releases) - [Changelog](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/zh-lx/pinyin-pro/commits) --- updated-dependencies: - dependency-name: pinyin-pro dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.48 to 2.0.49 (#14404) * chore(deps): bump @tonyrl/rand-user-agent from 2.0.48 to 2.0.49 Bumps [@tonyrl/rand-user-agent](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent) from 2.0.48 to 2.0.49. - [Release notes](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/releases) - [Commits](https://github.com/TonyRL/rand-user-agent/compare/v2.0.48...v2.0.49) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@tonyrl/rand-user-agent" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump lint-staged from 15.2.1 to 15.2.2 (#14407) * chore(deps-dev): bump lint-staged from 15.2.1 to 15.2.2 Bumps [lint-staged](https://github.com/okonet/lint-staged) from 15.2.1 to 15.2.2. - [Release notes](https://github.com/okonet/lint-staged/releases) - [Changelog](https://github.com/lint-staged/lint-staged/blob/master/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/okonet/lint-staged/compare/v15.2.1...v15.2.2) --- updated-dependencies: - dependency-name: lint-staged dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump googleapis from 131.0.0 to 132.0.0 (#14405) * chore(deps): bump googleapis from 131.0.0 to 132.0.0 Bumps [googleapis](https://github.com/googleapis/google-api-nodejs-client) from 131.0.0 to 132.0.0. - [Release notes](https://github.com/googleapis/google-api-nodejs-client/releases) - [Changelog](https://github.com/googleapis/google-api-nodejs-client/blob/main/release-please-config.json) - [Commits](https://github.com/googleapis/google-api-nodejs-client/compare/googleapis-v131.0.0...googleapis-v132.0.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: googleapis dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump @stylistic/eslint-plugin-js from 1.5.4 to 1.6.0 (#14406) * chore(deps-dev): bump @stylistic/eslint-plugin-js from 1.5.4 to 1.6.0 Bumps [@stylistic/eslint-plugin-js](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/tree/HEAD/packages/eslint-plugin-js) from 1.5.4 to 1.6.0. - [Release notes](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/releases) - [Commits](https://github.com/eslint-stylistic/eslint-stylistic/commits/v1.6.0/packages/eslint-plugin-js) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@stylistic/eslint-plugin-js" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump prettier from 3.2.4 to 3.2.5 (#14408) * chore(deps-dev): bump prettier from 3.2.4 to 3.2.5 Bumps [prettier](https://github.com/prettier/prettier) from 3.2.4 to 3.2.5. - [Release notes](https://github.com/prettier/prettier/releases) - [Changelog](https://github.com/prettier/prettier/blob/main/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/prettier/prettier/compare/3.2.4...3.2.5) --- updated-dependencies: - dependency-name: prettier dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * style: auto format * chore(deps-dev): bump @types/react from 18.2.54 to 18.2.55 in /website (#14419) Bumps [@types/react](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/react) from 18.2.54 to 18.2.55. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/react) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/react" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore: update the "routes" example in the pull request template to make it less confusing (#14415) * Fix: a typo in the pull request template * Enhance: when parsing routes from PR body, remove all comments. * feat(route): add new route "konghq/blog-posts" (#14414) * Feature: add new route honghq/blog-posts * Update comment of route konghq/blog-posts * Update lib/v2/konghq/blog-posts.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * Update lib/v2/konghq/blog-posts.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * Add radar.js for konghq route. --------- * chore(deps-dev): bump @types/imapflow from 1.0.17 to 1.0.18 (#14417) * chore(deps-dev): bump @types/imapflow from 1.0.17 to 1.0.18 Bumps [@types/imapflow](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/imapflow) from 1.0.17 to 1.0.18. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/imapflow) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/imapflow" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.99.0 to 7.100.0 (#14418) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.99.0 to 7.100.0 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.99.0 to 7.100.0. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/develop/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/compare/7.99.0...7.100.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-minor ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps-dev): bump eslint-plugin-unicorn from 50.0.1 to 51.0.1 (#14416) * chore(deps-dev): bump eslint-plugin-unicorn from 50.0.1 to 51.0.1 Bumps [eslint-plugin-unicorn](https://github.com/sindresorhus/eslint-plugin-unicorn) from 50.0.1 to 51.0.1. - [Release notes](https://github.com/sindresorhus/eslint-plugin-unicorn/releases) - [Commits](https://github.com/sindresorhus/eslint-plugin-unicorn/compare/v50.0.1...v51.0.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: eslint-plugin-unicorn dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump puppeteer from 21.11.0 to 22.0.0 (#14403) * chore(deps): bump puppeteer from 21.11.0 to 22.0.0 Bumps [puppeteer](https://github.com/puppeteer/puppeteer) from 21.11.0 to 22.0.0. - [Release notes](https://github.com/puppeteer/puppeteer/releases) - [Changelog](https://github.com/puppeteer/puppeteer/blob/main/release-please-config.json) - [Commits](https://github.com/puppeteer/puppeteer/compare/puppeteer-v21.11.0...puppeteer-v22.0.0) --- updated-dependencies: - dependency-name: puppeteer dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-major ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route/thepaper): Avoid destructuring string when parsing tags (#14383) * Update utils.js * Update lib/v2/thepaper/utils.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> --------- * feat(route): tass (#14426) * chore(deps-dev): bump @types/react-dom in /website (#14428) Bumps [@types/react-dom](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/tree/HEAD/types/react-dom) from 18.2.18 to 18.2.19. - [Release notes](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/releases) - [Commits](https://github.com/DefinitelyTyped/DefinitelyTyped/commits/HEAD/types/react-dom) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@types/react-dom" dependency-type: direct:development update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * chore(deps): bump @sentry/node from 7.100.0 to 7.100.1 (#14427) * chore(deps): bump @sentry/node from 7.100.0 to 7.100.1 Bumps [@sentry/node](https://github.com/getsentry/sentry-javascript) from 7.100.0 to 7.100.1. - [Release notes](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/releases) - [Changelog](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/blob/7.100.1/CHANGELOG.md) - [Commits](https://github.com/getsentry/sentry-javascript/compare/7.100.0...7.100.1) --- updated-dependencies: - dependency-name: "@sentry/node" dependency-type: direct:production update-type: version-update:semver-patch ... Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> * chore: fix pnpm install --------- Signed-off-by: dependabot[bot] <support@github.com> Co-authored-by: dependabot[bot] <49699333+dependabot[bot]@users.noreply.github.com> * fix(route): bsky (#14429) * feat: New Route Miyoushe - User Follow Dynamics | 新增路由 米游社 - 用户关注动态 (#14425) * feat(route): 增加 米游社 - 用户关注动态 路由 * fix(route): 修复 路由、文档的风格问题 * docs: fix envs --------- * style: auto format * feat(route): zhihu top topic (#14431) * feat(route): 中证网中证快讯 (#14424) * feat(route): 中证网中证快讯 * update lib/v2/cs/zzkx.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * update lib/v2/cs/zzkx.js Co-authored-by: Tony <TonyRL@users.noreply.github.com> * fix: remove unused import statement --------- * chore(deps): bump pnpm/action-setup from 2 to 3 (#14432) Bumps [pnpm/action-setup](https://github.com/pnpm/action-setup) from 2 to 3. - [Release notes](https://github.com/pnpm/action-setup/releases) - [Commits](https://github.com/pnpm/action-setup/compare/v2...v3)…
Sign up for free
to join this conversation on GitHub.
Already have an account?
Sign in to comment
Labels
Add this suggestion to a batch that can be applied as a single commit.
This suggestion is invalid because no changes were made to the code.
Suggestions cannot be applied while the pull request is closed.
Suggestions cannot be applied while viewing a subset of changes.
Only one suggestion per line can be applied in a batch.
Add this suggestion to a batch that can be applied as a single commit.
Applying suggestions on deleted lines is not supported.
You must change the existing code in this line in order to create a valid suggestion.
Outdated suggestions cannot be applied.
This suggestion has been applied or marked resolved.
Suggestions cannot be applied from pending reviews.
Suggestions cannot be applied on multi-line comments.
Suggestions cannot be applied while the pull request is queued to merge.
Suggestion cannot be applied right now. Please check back later.
Involved Issue / 该 PR 相关 Issue
Close #
Example for the Proposed Route(s) / 路由地址示例
New RSS Route Checklist / 新 RSS 路由检查表
Puppeteer
Note / 说明
This PR is mainly for adding feed for Thai Parliament's Public hearing (according to Thai constitution section 77) system.
Due to issues with the parliament's firewall prevent
got
to request the page (eithersocket hangs up
, or infinite redirect when using proxy), the module is forced to use Puppeteer to request the page instead. Note that the actual DOM traversing is still use cherrio as usual.